คำเหล่านี้มีความหมาย และที่มาในการสมาสหรือสนธิคำรึเปล่าคะ
เห็นตัวอักษร "ญจ" , "ญจน" คิดว่าน่าจะมาจากภาษาบาลีมากกว่าสันสกฤต
1. วีริญจ์ -- น่าจะมาจาก คำว่า "วีระ" แต่ไม่ทราบว่าสนธิกับคำใด
2. วีริญจน์ -- สืบเนื่องจากสงสัยคำข้างบนค่ะ เห็นคำนี้ที่คล้ายกัน ไม่ทราบว่าคำที่มาสนธิมาจากรากศัพท์คำเดียวกันไหม
ถ้าเป็นคำว่า วีรินทร์ เราจะคุ้นเคยกันมากว่า คือ วีระ + อินทร (สันสกฤต) แต่ อิญฺจ หรือ อิญฺจน ในพจนานุกรมภาษาลีที่พอจะค้นได้
ไม่เจอคำนี้เลยค่ะ หรือจะเป็นการสนธิระหว่างคำอื่น แต่แผลงเป็นสระ อิ คะ
ขอถามเพิ่ม อีกคำนะคะ
3. คำใกล้เคียงสุดที่พบในภาษาบาลี คือ คำว่า อญฺญ / อญฺญา ซึ่ง วร + อญฺญา = วรัญญา
ปัญหาที่สงสัย คือ เจอคำนี้ด้วย วริญญา น่าจะมากจาก วร แต่จะสนธิกับ อิญฺญา หรือคะ คำนี้ในบาลีไม่น่าจะมี เลยสงสัยว่าเสียงสระ อิ
มาได้อย่างไรคะ มีท่านหนึ่งอธิบายว่า วร + อิ + อญฺญา = วริญญา แต่ก็ยังไม่ทราบอยู่ดีว่าเสียง อิ นั้นมาได้อย่างไร
หรือคำว่า อิ นั้นจะมีความหมายในบาลีคะจึงนำมาสนธิด้วย
รู้สึกเราเรียนเรื่อง สมาส , สนธิ น้อยเกินไปรึเปล่าคะ ทั้งที่ภาษาไทยของเรายืมคำจากภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช้มากมาย
การสมาส , สนธิ ของคำ ทำให้เกิดคำใหม่ขึ้น ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจ
***สรุปคำถามนะคะ อยากทราบความหมาย และคำที่มาสนธิกันจนเกิดเป็น 3 คำนี้น่ะค่ะ***
วีริญจ์ , วีริญจน์ , วริญญา
ขอขอบคุณทุกท่านที่ร่วมแสดงความคิดเห็น ล่วงหน้าค่ะ ^^
วีริญจ์ , วีริญจน์ แปลว่าอะไรคะ
เห็นตัวอักษร "ญจ" , "ญจน" คิดว่าน่าจะมาจากภาษาบาลีมากกว่าสันสกฤต
1. วีริญจ์ -- น่าจะมาจาก คำว่า "วีระ" แต่ไม่ทราบว่าสนธิกับคำใด
2. วีริญจน์ -- สืบเนื่องจากสงสัยคำข้างบนค่ะ เห็นคำนี้ที่คล้ายกัน ไม่ทราบว่าคำที่มาสนธิมาจากรากศัพท์คำเดียวกันไหม
ถ้าเป็นคำว่า วีรินทร์ เราจะคุ้นเคยกันมากว่า คือ วีระ + อินทร (สันสกฤต) แต่ อิญฺจ หรือ อิญฺจน ในพจนานุกรมภาษาลีที่พอจะค้นได้
ไม่เจอคำนี้เลยค่ะ หรือจะเป็นการสนธิระหว่างคำอื่น แต่แผลงเป็นสระ อิ คะ
ขอถามเพิ่ม อีกคำนะคะ
3. คำใกล้เคียงสุดที่พบในภาษาบาลี คือ คำว่า อญฺญ / อญฺญา ซึ่ง วร + อญฺญา = วรัญญา
ปัญหาที่สงสัย คือ เจอคำนี้ด้วย วริญญา น่าจะมากจาก วร แต่จะสนธิกับ อิญฺญา หรือคะ คำนี้ในบาลีไม่น่าจะมี เลยสงสัยว่าเสียงสระ อิ
มาได้อย่างไรคะ มีท่านหนึ่งอธิบายว่า วร + อิ + อญฺญา = วริญญา แต่ก็ยังไม่ทราบอยู่ดีว่าเสียง อิ นั้นมาได้อย่างไร
หรือคำว่า อิ นั้นจะมีความหมายในบาลีคะจึงนำมาสนธิด้วย
รู้สึกเราเรียนเรื่อง สมาส , สนธิ น้อยเกินไปรึเปล่าคะ ทั้งที่ภาษาไทยของเรายืมคำจากภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช้มากมาย
การสมาส , สนธิ ของคำ ทำให้เกิดคำใหม่ขึ้น ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจ
***สรุปคำถามนะคะ อยากทราบความหมาย และคำที่มาสนธิกันจนเกิดเป็น 3 คำนี้น่ะค่ะ***
วีริญจ์ , วีริญจน์ , วริญญา
ขอขอบคุณทุกท่านที่ร่วมแสดงความคิดเห็น ล่วงหน้าค่ะ ^^