รบกวนผู้รู้ช่วยคลายความสงสัยตั้งแต่วัยเด็กของผมทีครับ
ในชั้นเรียนภาษาไทยตอนประถม ผมสงสัยประโยคที่ว่า "น้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า" มากๆครับ
เพราะว่า ผมมาลองคิดดู คำว่า "เสือพึ่งป่า"
คำนี้ เข้าใจได้ เพราะเสือต้องอาศัยป่าเป็นถิ่นที่อยู่ ไม่มีป่า เสือต้องตายแน่ๆ
(ในกรณีของสวนสัตว์ เสือยังต้องพึ่งสภาพที่จำลองจากป่ามาอยู่ดี)
แต่ในส่วนของ น้ำ ไม่ได้มีความจำเป็นอะไรที่จะต้องพึ่งเรือ หากไม่มีเรือ น้ำก็น่าจะอยู่ได้ครับ
จริงๆแล้ว เรือต่างหาก ที่จะต้องเป็นฝ่ายที่พึ่งน้ำ
หรือถ้าเหตุผลว่า มันคล้องจองกัน
ทำไมถึงไม่แต่งว่า "เสือพึ่งป่า ปลาพึ่งน้ำ" อะไรประมาณนี้ครับ 555
เจตนาของผมไม่ได้จะจับผิดสำนวนไทย หรือคิดขวางโลกอะไรนะครับ
แต่วันนี้วันเด็ก มันทำให้ผมหวนนึกไปถึงความคิดของผมในตอนนั้นครับ
ขอบคุณครับ
ทำไมถึงเป็น "น้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า" ครับ
ในชั้นเรียนภาษาไทยตอนประถม ผมสงสัยประโยคที่ว่า "น้ำพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า" มากๆครับ
เพราะว่า ผมมาลองคิดดู คำว่า "เสือพึ่งป่า"
คำนี้ เข้าใจได้ เพราะเสือต้องอาศัยป่าเป็นถิ่นที่อยู่ ไม่มีป่า เสือต้องตายแน่ๆ
(ในกรณีของสวนสัตว์ เสือยังต้องพึ่งสภาพที่จำลองจากป่ามาอยู่ดี)
แต่ในส่วนของ น้ำ ไม่ได้มีความจำเป็นอะไรที่จะต้องพึ่งเรือ หากไม่มีเรือ น้ำก็น่าจะอยู่ได้ครับ
จริงๆแล้ว เรือต่างหาก ที่จะต้องเป็นฝ่ายที่พึ่งน้ำ
หรือถ้าเหตุผลว่า มันคล้องจองกัน
ทำไมถึงไม่แต่งว่า "เสือพึ่งป่า ปลาพึ่งน้ำ" อะไรประมาณนี้ครับ 555
เจตนาของผมไม่ได้จะจับผิดสำนวนไทย หรือคิดขวางโลกอะไรนะครับ
แต่วันนี้วันเด็ก มันทำให้ผมหวนนึกไปถึงความคิดของผมในตอนนั้นครับ
ขอบคุณครับ