สงสัยมานานแล้วว่าทั้งๆที่เครื่องบินมีการปรับความดันภายใน มันก็ไม่น่าจะมีความแตกต่างกับบนพื้นโลกนี่นา แต่ก็ยังหูอู้ปวดหู ยิ่งถ้าบางทีเป็นหวัด ลงเครื่องบินมาก็จะทำให้ปวดหัวด้วย
เลยลองเอาเครื่องวัดความดันบรรยากาศขึ้นไปวัดมาฝากถึงเหตุผลครับ
ตอนอยู่บนพื้นวัดความดันได้เท่ากับความดันบรรยกาศปรกติคือประมาณ 1000hPa หรือ 1bar ตามที่เรารู้นั่นเอง
หลังจากเครื่องไต่ระดับอย่างช้าๆขึ้นไปที่ 3.5km เหนือพื้นดิน ความดันในห้องโดยสารเริ่มลดลงไปที่ 950hPa (บนพื้นดิน 1000hPa)
และเมื่อไต่ระดับขึ้นไปอีกที่ 7km เหนือพื้นดิน ความดันในห้องโดยสารลดลงเหลือ 895hPa (บนพื้นดิน 1000hPa)
และเมื่อทำเพดานบินได้สูงสุดที่ 33000feet ความดันลดลงไปเหลือแค่ 845hPa (บนพื้นดิน 1000hPa)
1.ความดันภายในเครื่องบินไม่ได้ปรับให้เท่ากับบนพื้นโลก เพียงแต่ให้ยังสามารถใช้ชีวิตได้ตามปรกติ จึงยังทำให้เกิดหูอื้อได้
2.ตลอดการเดินทางความดันไม่ถือว่านิ่งซะทีเดียวมีการขยับตัวขึ้นลงตลอด ทำให้เกิดหูอื้อเรื่อยๆตลอดการเดินทาง
เอามาฝากให้ดูเล่นสนุกๆครับ ไหนๆไปทดลองมาแล้ว จะได้ไม่เสียเปล่า
แถมครับ ว่าถ้าขึ้นไปสูงกว่านี้และไม่มีการปรับความดันจะเป็นยังไงนะ
ทำไมเวลาขึ้นเครื่องบินแล้วหูอื้อ มาดูกัน
เลยลองเอาเครื่องวัดความดันบรรยากาศขึ้นไปวัดมาฝากถึงเหตุผลครับ
ตอนอยู่บนพื้นวัดความดันได้เท่ากับความดันบรรยกาศปรกติคือประมาณ 1000hPa หรือ 1bar ตามที่เรารู้นั่นเอง
หลังจากเครื่องไต่ระดับอย่างช้าๆขึ้นไปที่ 3.5km เหนือพื้นดิน ความดันในห้องโดยสารเริ่มลดลงไปที่ 950hPa (บนพื้นดิน 1000hPa)
และเมื่อไต่ระดับขึ้นไปอีกที่ 7km เหนือพื้นดิน ความดันในห้องโดยสารลดลงเหลือ 895hPa (บนพื้นดิน 1000hPa)
และเมื่อทำเพดานบินได้สูงสุดที่ 33000feet ความดันลดลงไปเหลือแค่ 845hPa (บนพื้นดิน 1000hPa)
1.ความดันภายในเครื่องบินไม่ได้ปรับให้เท่ากับบนพื้นโลก เพียงแต่ให้ยังสามารถใช้ชีวิตได้ตามปรกติ จึงยังทำให้เกิดหูอื้อได้
2.ตลอดการเดินทางความดันไม่ถือว่านิ่งซะทีเดียวมีการขยับตัวขึ้นลงตลอด ทำให้เกิดหูอื้อเรื่อยๆตลอดการเดินทาง
เอามาฝากให้ดูเล่นสนุกๆครับ ไหนๆไปทดลองมาแล้ว จะได้ไม่เสียเปล่า
แถมครับ ว่าถ้าขึ้นไปสูงกว่านี้และไม่มีการปรับความดันจะเป็นยังไงนะ