มลพิษทางเสียง เป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนคนที่ไม่อยากไปร่วมกับม๊อบนกหวีด ก็เพราะทั้งส่วนหนึ่งมันทำให้เกิดอันตรายต่อการได้ยิน คือการสูญเสียการได้ยินหรือทำให้ระดับการได้ยินลดลง และส่วนที่ก่อให้เกิดการรบกวนต่อการดำรงชีวิตประจำวัน เช่น รบกวนการนอน การทำงาน และการสนทนา
แหล่งกำเนิดเสียงในสิ่งแวดล้อมที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดอันตรายต่อการได้ยินมาจากิจกรรมหลากหลายประเภท บางกิจกรรมที่มีเสียงเกิดอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง และประชาชนสัมผัสเสียงนั้นๆ เป็นระยะเวลาหลายปี เช่น เสียงจากการจราจร , ส่วนกิจกรรมสันทนาการในช่วงเทศกาล เช่น การจุดพลุ ประทัด และดอกไม้ไฟ ประชาชนที่อยู่ใกล้แหล่งกำเนิดเสียงและเกิดเสียงดังเกินขีดจำกัดของการรับเสียงของหู จะเป็นสาเหตุทำให้เกิดอันตรายต่อการได้ยินอย่างเฉียบพลันได้เช่นกัน
เสียงดังจากนกหวีดเป็นสาเหตุหนึ่งที่จะก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญ เนื่องจากมีความดังถึง 120 เดซิเบล เอ ซึ่งเทียบเท่ากับระดับเสียงของเครื่องบินโดยสารไอพ่น และมีความดังประมาณ 100 เดซิเบล เอ เมื่อยืนห่างออกไป 1 เมตร และมีความดังประมาณ 95 เดซิเบล เอ เมื่อห่างออกไป 10 เมตร ซึ่งเมื่อเทียบกับมาตรฐานระดับเสียงในสิ่งแวดล้อม กำหนดให้ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบล และค่าที่ได้รับฟัง ขณะใดขณะหนึ่งที่อาจมีผลต่อการได้ยินอย่างเฉียบพลัน เป็นระดับสูงสุดไม่เกิน 115 เดซิเบล เอ ดังนั้นหากได้รับเสียงดังของนกหวีดเป็นเวลานานๆ โดยเฉพาะผู้ที่มีอาชีพที่จำเป็นต้องเป่านกหวีด หูตึง ก่อนวัยอันควรได้ การใช้เสียงนกหวีด อาจมีความผิดตามกฎหมาย โดยเฉพาะในกรณีที่ใช้เป็นสัญญาณจราจรตามริมท้องถนน เนื่องจากกฎหมายจราจรกำหนดให้เฉพาะตำรวจ หรืออาสาจราจรที่ผ่านการอบรมแล้วเท่านั้นจึงจะทำสัญญาณจราจรได้ ซึ่งการใช้เสียงนกหวีดก็เป็นสัญญาณจราจรอย่างหนึ่ง ทั้งนี้ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 2000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ดังนั้นจึงไม่ควรใช้เสียงนกหวีดโดยไม่จำเป็น แต่หากมีความจำเป็นควรเปลี่ยนไปใช้สัญญาณอื่นแทน เช่น การโบกธง การใช้สัญญาณมือ การใช้เครื่องหมาย หรือสัญญาณไฟฟ้าและต้องไม่ใช้ริมเส้นทางจราจร หากไม่เป็นผู้ที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
ดังนั้นจะเป้านกหวีดใส่ใครโดยเฉพาะเด็ก ๆ คนเป่าช่วยกันหัดคิดเสียบ้างนะครับ
คุณรู้หรือไม่เสียงนกหวีดที่พวกคุณเป่ามันก่อกวนจริง ๆ นะ
แหล่งกำเนิดเสียงในสิ่งแวดล้อมที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดอันตรายต่อการได้ยินมาจากิจกรรมหลากหลายประเภท บางกิจกรรมที่มีเสียงเกิดอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง และประชาชนสัมผัสเสียงนั้นๆ เป็นระยะเวลาหลายปี เช่น เสียงจากการจราจร , ส่วนกิจกรรมสันทนาการในช่วงเทศกาล เช่น การจุดพลุ ประทัด และดอกไม้ไฟ ประชาชนที่อยู่ใกล้แหล่งกำเนิดเสียงและเกิดเสียงดังเกินขีดจำกัดของการรับเสียงของหู จะเป็นสาเหตุทำให้เกิดอันตรายต่อการได้ยินอย่างเฉียบพลันได้เช่นกัน
เสียงดังจากนกหวีดเป็นสาเหตุหนึ่งที่จะก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญ เนื่องจากมีความดังถึง 120 เดซิเบล เอ ซึ่งเทียบเท่ากับระดับเสียงของเครื่องบินโดยสารไอพ่น และมีความดังประมาณ 100 เดซิเบล เอ เมื่อยืนห่างออกไป 1 เมตร และมีความดังประมาณ 95 เดซิเบล เอ เมื่อห่างออกไป 10 เมตร ซึ่งเมื่อเทียบกับมาตรฐานระดับเสียงในสิ่งแวดล้อม กำหนดให้ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบล และค่าที่ได้รับฟัง ขณะใดขณะหนึ่งที่อาจมีผลต่อการได้ยินอย่างเฉียบพลัน เป็นระดับสูงสุดไม่เกิน 115 เดซิเบล เอ ดังนั้นหากได้รับเสียงดังของนกหวีดเป็นเวลานานๆ โดยเฉพาะผู้ที่มีอาชีพที่จำเป็นต้องเป่านกหวีด หูตึง ก่อนวัยอันควรได้ การใช้เสียงนกหวีด อาจมีความผิดตามกฎหมาย โดยเฉพาะในกรณีที่ใช้เป็นสัญญาณจราจรตามริมท้องถนน เนื่องจากกฎหมายจราจรกำหนดให้เฉพาะตำรวจ หรืออาสาจราจรที่ผ่านการอบรมแล้วเท่านั้นจึงจะทำสัญญาณจราจรได้ ซึ่งการใช้เสียงนกหวีดก็เป็นสัญญาณจราจรอย่างหนึ่ง ทั้งนี้ผู้ฝ่าฝืนมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 2000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ดังนั้นจึงไม่ควรใช้เสียงนกหวีดโดยไม่จำเป็น แต่หากมีความจำเป็นควรเปลี่ยนไปใช้สัญญาณอื่นแทน เช่น การโบกธง การใช้สัญญาณมือ การใช้เครื่องหมาย หรือสัญญาณไฟฟ้าและต้องไม่ใช้ริมเส้นทางจราจร หากไม่เป็นผู้ที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
ดังนั้นจะเป้านกหวีดใส่ใครโดยเฉพาะเด็ก ๆ คนเป่าช่วยกันหัดคิดเสียบ้างนะครับ