ม็อบ เกิดจากทฤษฎี Social dynamics(พลวัตทางสังคม) คือแรงขับที่ตอบสนองความต้องการทางสังคม เป็นพฤติกรรมที่มาจากการมีปฏิสัมพันธ์ ของสมาชิกในกลุ่ม โดยใช้พื้นฐานจากทฤษฎีความต้องการพื้นฐานของ มาสโลว์
จะเห็นว่าขั้นที่ 4 คือ ความต้องการการได้รับการยกย่องนับถือ (Esteem needs)
เมื่อเราเอาสองทฤษฎีนี้มาประยุกต์ใช้ร่วมกับ จะเกิด พลวัตกลุ่มที่ตอบสนองความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
ม็อบสมัยนี้ไม่ตองไปสนใจหรอกครับ ใครโกงใครไม่โกง เพราะแต่ละคนสามารถเกิด ความคิดที่บิดเบือน(Thinking Errors) อย่างเช่น
-Mental filter คือเลือกที่จะเชื่อในสิ่งที่ตนเองมีความเชื่อหรือคิด โดยเลือกที่จะไม่รับรู้ข้อมูลอื่นๆ เช่น ทักษิณมันโกงชาติ แต่ขณะเดียวกันคนพูดเองยังไม่ยอมชำระเงินกู้ กยศ เลย
-Overgeneralization คือ การสรุปความคิดแบบเหมารวม โดยไม่มีหลักฐานมาสนับสนุน หรือมีหลักฐานเพียงน้อยนิด เช่น ทักษิณมันเลวไง ไม่งั้นคนอื่นจะเกลียดมันเหรอ
การเอาศูนย์กลางของจิตใจของคนไทยเราใช้ ถือเป็นกลยุทธหลักของฝ่ายม็อบที่จะล้มล้างทักษิณ การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และหลักฐานเลื่อนลอย ก็สามารถชักจูงคนได้(ที่หลักฐานเลื่อนลอยใช้ได้ผล ก็อ้างอิงความคิดที่บิดเบือนThinking Errorsในการคิดแบบ Mental filter)
การโจมตีว่า ทักษิณ หรือ คนเสื้อแดง หรือแม้แต่คนที่ไม่ยอมเข้าร่วมม็อบ คือ ผู้ไม่จงรักภัคดี ก็ทำให้บุคคลที่อ่อนไหวต่อแรงตอบสนองทางสังคมเกิดความรู้สึกหวั่นไหว และมีโอกาสคล้อยตาม พลวัตกลุ่มได้ไม่ยากนัก
เมื่อรวบรวมทฤษฎี ต่างๆ ที่ผมว่ามา จะเห็นว่า องค์ประกอบ ของม็อบคุณสุเทพ มีกลไกลที่ซับซ้อนและเล่นกับความรู้สึก และจิตใจคน
นี่คือภาพสะท้อนของความอ่อนแอภายในจิตใจคนไทย ถ้าจะแก้ปัญหาความวุ่นวายทางสังคม ควรเริ่มตั้งแต่การปลูกฝังค่านิยมด้านคุณธรรมตั้งแต่เด็ก ตราบใดที่พ่อแม่ยังห่วง กลัวว่าลูกจะน้อยหน้า หรือด้อยกว่าบ้านอื่น จึงต้องซื้อของให้เหมือนลูกบ้านอื่น พาลูกไปเรียนพิเศษเหมือนบ้านอื่นๆ หรือ การส่งเสริมการแข่งขันใดๆที่มาจากผู้ปกครอง ย่อมส่งผลให้เด็กเหล่านั้น โตขึ้นมาพร้อมกับพฤติกรรมที่มุ่งแต่จะตอบสนองความต้องการทางสังคม เป็นเด็กที่มีความภาคภูมิใจในตนเอง(Self Esteem) ต่ำ โดยคาดหวังจะได้รับการยอมรับยกย่องจากผู้อื่น(Esteem from others) เพียงอย่างเดียว และไม่เป็นตัวของตัวเอง
ม็อบ : Esteem to Social dynamics
จะเห็นว่าขั้นที่ 4 คือ ความต้องการการได้รับการยกย่องนับถือ (Esteem needs)
เมื่อเราเอาสองทฤษฎีนี้มาประยุกต์ใช้ร่วมกับ จะเกิด พลวัตกลุ่มที่ตอบสนองความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
ม็อบสมัยนี้ไม่ตองไปสนใจหรอกครับ ใครโกงใครไม่โกง เพราะแต่ละคนสามารถเกิด ความคิดที่บิดเบือน(Thinking Errors) อย่างเช่น
-Mental filter คือเลือกที่จะเชื่อในสิ่งที่ตนเองมีความเชื่อหรือคิด โดยเลือกที่จะไม่รับรู้ข้อมูลอื่นๆ เช่น ทักษิณมันโกงชาติ แต่ขณะเดียวกันคนพูดเองยังไม่ยอมชำระเงินกู้ กยศ เลย
-Overgeneralization คือ การสรุปความคิดแบบเหมารวม โดยไม่มีหลักฐานมาสนับสนุน หรือมีหลักฐานเพียงน้อยนิด เช่น ทักษิณมันเลวไง ไม่งั้นคนอื่นจะเกลียดมันเหรอ
การเอาศูนย์กลางของจิตใจของคนไทยเราใช้ ถือเป็นกลยุทธหลักของฝ่ายม็อบที่จะล้มล้างทักษิณ การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และหลักฐานเลื่อนลอย ก็สามารถชักจูงคนได้(ที่หลักฐานเลื่อนลอยใช้ได้ผล ก็อ้างอิงความคิดที่บิดเบือนThinking Errorsในการคิดแบบ Mental filter)
การโจมตีว่า ทักษิณ หรือ คนเสื้อแดง หรือแม้แต่คนที่ไม่ยอมเข้าร่วมม็อบ คือ ผู้ไม่จงรักภัคดี ก็ทำให้บุคคลที่อ่อนไหวต่อแรงตอบสนองทางสังคมเกิดความรู้สึกหวั่นไหว และมีโอกาสคล้อยตาม พลวัตกลุ่มได้ไม่ยากนัก
เมื่อรวบรวมทฤษฎี ต่างๆ ที่ผมว่ามา จะเห็นว่า องค์ประกอบ ของม็อบคุณสุเทพ มีกลไกลที่ซับซ้อนและเล่นกับความรู้สึก และจิตใจคน
นี่คือภาพสะท้อนของความอ่อนแอภายในจิตใจคนไทย ถ้าจะแก้ปัญหาความวุ่นวายทางสังคม ควรเริ่มตั้งแต่การปลูกฝังค่านิยมด้านคุณธรรมตั้งแต่เด็ก ตราบใดที่พ่อแม่ยังห่วง กลัวว่าลูกจะน้อยหน้า หรือด้อยกว่าบ้านอื่น จึงต้องซื้อของให้เหมือนลูกบ้านอื่น พาลูกไปเรียนพิเศษเหมือนบ้านอื่นๆ หรือ การส่งเสริมการแข่งขันใดๆที่มาจากผู้ปกครอง ย่อมส่งผลให้เด็กเหล่านั้น โตขึ้นมาพร้อมกับพฤติกรรมที่มุ่งแต่จะตอบสนองความต้องการทางสังคม เป็นเด็กที่มีความภาคภูมิใจในตนเอง(Self Esteem) ต่ำ โดยคาดหวังจะได้รับการยอมรับยกย่องจากผู้อื่น(Esteem from others) เพียงอย่างเดียว และไม่เป็นตัวของตัวเอง