ในคลิปเจาะข่าวเด่น ดร.เจษฎ์ โทณะวณิกกล่าวระบุไว้ว่า "มาตรา 68 ระบุไว้ชัดเจนในวรรคสอง ให้อัยการตรวจสอบข้อเท็จจริง ศาลรัฐธรรมนูญเป็นคนวินิจฉัย"
เพียงเท่านี้ ตลก.ก็ตายคาจอยกรัง เพราะ
1. สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ คือ...? (ดูเนื้อหาตรงหัวข้อ ข้อเท็จจริง)
1.1
สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครอง
2. กระบวนการตามมาตรา 68 ถูกตัดตอน ไม่สมบูรณ์
ข้อเท็จจริง
ส่วนที่ ๑๓ สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ
มาตรา ๖๘ (การล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย)
บุคคลจะใช้
สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ1เพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ มิได้
ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใด
กระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้
2อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้3ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการ ดังกล่าว
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้พรรคการเมืองใดเลิกกระทำการตามวรรคสองศาลรัฐธรรมนูญอาจสั่งยุบพรรคการเมืองดังกล่าวได้
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคการเมืองตามวรรคสาม ให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของหัวหน้าพรรคการเมืองและกรรมการบริหารของพรรคการเมืองที่ถูกยุบในขณะที่กระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นระยะเวลาห้าปีนับแต่วันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งดังกล่าว
เรื่องที่ 1 =
1
1. สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ คือ *
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
_______________
หมวด ๓
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
ส่วนที่ ๓ สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล
มาตรา ๓๒ บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย
มาตรา ๓๓ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในเคหสถาน
มาตรา ๓๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการเดินทางและมีเสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยู่ภายในราชอาณาจักร
มาตรา ๓๕ สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง ตลอดจนความเป็นอยู่ส่วนตัว
มาตรา ๓๖ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทางที่ชอบด้วยกฎหมาย
มาตรา ๓๗ บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการถือศาสนา
มาตรา ๓๘ การเกณฑ์แรงงานจะกระทำมิได้
ส่วนที่ ๔ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม
มาตรา ๓๙ บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้กระทำการอันกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระทำนั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่บุคคลนั้นจะหนักกว่าโทษที่กำหนดไว้ในกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระทำความผิดมิได้
ในคดีอาญา ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่มีความผิด
ก่อนมีคำพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทำความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระทำความผิดมิได้
มาตรา ๔๐ บุคคลย่อมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
มาตรา ๔๑ สิทธิของบุคคลในทรัพย์สินย่อมได้รับความคุ้มครอง
มาตรา ๔๒ การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์จะกระทำมิได้ เว้นแต่
ส่วนที่ ๖ สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ
มาตรา ๔๓ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม
มาตรา ๔๔ บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับหลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพในการทำงาน
ส่วนที่ ๗ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน
มาตรา ๔๕ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น
มาตรา ๔๖ พนักงานหรือลูกจ้างของเอกชนที่ประกอบกิจการหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือสื่อมวลชนอื่น ย่อมมีเสรีภาพในการเสนอข่าวและแสดงความคิดเห็นภายใต้ข้อจำกัดตามรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๔๗ คลื่นความถี่ที่ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และโทรคมนาคม เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ
มาตรา ๔๘ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองจะเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือโทรคมนาคม มิได้
ส่วนที่ ๘ สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา
มาตรา ๔๙ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
มาตรา ๕๐ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการ
ส่วนที่ ๙ สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ
มาตรา ๕๑ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน และผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
มาตรา ๕๒ เด็กและเยาวชน มีสิทธิในการอยู่รอดและได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ตามศักยภาพในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนเป็นสำคัญ
มาตรา ๕๓ บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
มาตรา ๕๔ บุคคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ บุคคลวิกลจริตย่อมได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
มาตรา ๕๕ บุคคลซึ่งไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ ย่อมมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
ส่วนที่ ๑๐ สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน
มาตรา ๕๖ (สิทธิได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะ)
มาตรา ๕๗ (สิทธิได้รับข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ)
มาตรา ๕๘ (สิทธิมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาของหน่วยงานของรัฐ)
มาตรา ๕๙ (สิทธิเสนอเรื่องราวร้องทุกข์)
มาตรา ๖๐ (สิทธิที่จะฟ้องหน่วยงานของรัฐ)
มาตรา ๖๑ (สิทธิของผู้บริโภค)
มาตรา ๖๒ (สิทธิติดตามและร้องขอให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่)
ส่วนที่ ๑๑ เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม
มาตรา ๖๓ (เสรีภาพในการชุมนุม)
มาตรา ๖๔ (เสรีภาพในการรวมกัน)
มาตรา ๖๕ (เสรีภาพในจัดตั้งพรรคการเมือง)
ส่วนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน
มาตรา ๖๖ (สิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูภูมิปัญญาท้องถิ่นและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม)
มาตรา ๖๗ (สิทธิอนุรักษ์ บำรุงรักษา และได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ)
มาตรา ๖๘ (การล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย)
บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ มิได้
ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการ ดังกล่าว
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้พรรคการเมืองใดเลิกกระทำการตามวรรคสองศาลรัฐธรรมนูญอาจสั่งยุบพรรคการเมืองดังกล่าวได้
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคการเมืองตามวรรคสาม ให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของหัวหน้าพรรคการเมืองและกรรมการบริหารของพรรคการเมืองที่ถูกยุบในขณะที่กระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นระยะเวลาห้าปีนับแต่วันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งดังกล่าว
มาตรา ๖๙ (การต่อต้านโดยสันติวิธี)
สรุป
1. สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ คือ
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย ที่อยู่ในหมวด ๓ ส่วนที่ ๓ ถึงส่วนที่ ๑๒ (อ่านซ้ำ *)
1.1 สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครอง คือการใช้สิทธิตามข้อ 1
การแก้ไขรัฐธรรมนูญ
ข้อเท็จจริง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
หมวด ๑๕ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๒๙๑
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้
(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วย การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้
(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภา พิจารณาเป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟัง ความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอา เสียงข้างมากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับ โดยอนุโลม
สรุป
การแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ใช่เรื่องสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญในหมวดที่ ๓ ส่วนที่ ๓ ถึง ๑๒
แต่เป็นเรื่องการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ที่อยู่ในหมวด ๑๕
คำเตือน
ห้ามเปิดพจนานุกรม หรือ ดิกชันนารี เพราะกฎหมายสูงสุดบัญญัติไว้ว่า
สิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ ไม่ใช่ตามพจนานุกรม หรือ ดิกชันนารี
จบข่าว
เรื่องที่ 2 =
2
ตามมาตรา 68 ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว (การกระทำที่ใช้สิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญที่มีอยู่ในหมวด ๓ ส่วนที่ ๓ ถึงส่วนที่ ๑๒ เพื่อล้มล้างการปกครอง)
ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้... (อัยการ) ขีดเส้นใต้สองเส้น จบสิทธิของผู้ทราบการกระทำดังกล่าว แต่ยังไม่บริบูรณ์
โปรดฟังอีกครั้งหนึ่ง สิทธิเสนอเรื่องให้...(อัยการ)
เรื่องที่ 3 =
3 (เรื่องมันยาว)
เจตนารมณ์ร่างมาตรา 68
เครดิต ขนมสาคู
ดาวน์โหลดฉบับเต็ม
http://library2.parliament.go.th/giventake/content_ca/r061850.pdf
อำนาจหน้าที่ของอัยการตามมาตรา 68
ซึ่งถูกระบุไว้ในเว็บของศาลรัฐธรรมนูญทั้งในภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษก่อนที่จะมีการแก้ไขในภายหลังดังภาพข้างล่างนี้
บรรทัดฐาน //ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงแถวรในปัจจุบัน
ซึ่งพันธมิตรยังรู้และได้นำมาปฏิบัติ //ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงแถวรในปัจจุบัน
จบบริบูรณ์
เจาะข่าวเด่น ดร.เจษฎ์ โทณะวณิก เอามีดปาดลูกกระเดือกตลก.ตายคาจอยกรัง
ในคลิปเจาะข่าวเด่น ดร.เจษฎ์ โทณะวณิกกล่าวระบุไว้ว่า "มาตรา 68 ระบุไว้ชัดเจนในวรรคสอง ให้อัยการตรวจสอบข้อเท็จจริง ศาลรัฐธรรมนูญเป็นคนวินิจฉัย"
เพียงเท่านี้ ตลก.ก็ตายคาจอยกรัง เพราะ
1. สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ คือ...? (ดูเนื้อหาตรงหัวข้อ ข้อเท็จจริง)
1.1 สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครอง
2. กระบวนการตามมาตรา 68 ถูกตัดตอน ไม่สมบูรณ์
ข้อเท็จจริง
ส่วนที่ ๑๓ สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ
มาตรา ๖๘ (การล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย)
บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ1เพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ มิได้
ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้2อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้3ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการ ดังกล่าว
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้พรรคการเมืองใดเลิกกระทำการตามวรรคสองศาลรัฐธรรมนูญอาจสั่งยุบพรรคการเมืองดังกล่าวได้
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคการเมืองตามวรรคสาม ให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของหัวหน้าพรรคการเมืองและกรรมการบริหารของพรรคการเมืองที่ถูกยุบในขณะที่กระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นระยะเวลาห้าปีนับแต่วันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งดังกล่าว
เรื่องที่ 1 = 1
1. สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ คือ *
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
_______________
หมวด ๓
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
ส่วนที่ ๓ สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล
มาตรา ๓๒ บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย
มาตรา ๓๓ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในเคหสถาน
มาตรา ๓๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการเดินทางและมีเสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยู่ภายในราชอาณาจักร
มาตรา ๓๕ สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง ตลอดจนความเป็นอยู่ส่วนตัว
มาตรา ๓๖ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทางที่ชอบด้วยกฎหมาย
มาตรา ๓๗ บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการถือศาสนา
มาตรา ๓๘ การเกณฑ์แรงงานจะกระทำมิได้
ส่วนที่ ๔ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม
มาตรา ๓๙ บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้กระทำการอันกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระทำนั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่บุคคลนั้นจะหนักกว่าโทษที่กำหนดไว้ในกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระทำความผิดมิได้
ในคดีอาญา ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่มีความผิด
ก่อนมีคำพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทำความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระทำความผิดมิได้
มาตรา ๔๐ บุคคลย่อมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
มาตรา ๔๑ สิทธิของบุคคลในทรัพย์สินย่อมได้รับความคุ้มครอง
มาตรา ๔๒ การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์จะกระทำมิได้ เว้นแต่
ส่วนที่ ๖ สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ
มาตรา ๔๓ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม
มาตรา ๔๔ บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับหลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพในการทำงาน
ส่วนที่ ๗ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน
มาตรา ๔๕ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น
มาตรา ๔๖ พนักงานหรือลูกจ้างของเอกชนที่ประกอบกิจการหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือสื่อมวลชนอื่น ย่อมมีเสรีภาพในการเสนอข่าวและแสดงความคิดเห็นภายใต้ข้อจำกัดตามรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๔๗ คลื่นความถี่ที่ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และโทรคมนาคม เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ
มาตรา ๔๘ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองจะเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือโทรคมนาคม มิได้
ส่วนที่ ๘ สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา
มาตรา ๔๙ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
มาตรา ๕๐ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการ
ส่วนที่ ๙ สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ
มาตรา ๕๑ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน และผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
มาตรา ๕๒ เด็กและเยาวชน มีสิทธิในการอยู่รอดและได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ตามศักยภาพในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนเป็นสำคัญ
มาตรา ๕๓ บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
มาตรา ๕๔ บุคคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ บุคคลวิกลจริตย่อมได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
มาตรา ๕๕ บุคคลซึ่งไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ ย่อมมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
ส่วนที่ ๑๐ สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน
มาตรา ๕๖ (สิทธิได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะ)
มาตรา ๕๗ (สิทธิได้รับข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ)
มาตรา ๕๘ (สิทธิมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาของหน่วยงานของรัฐ)
มาตรา ๕๙ (สิทธิเสนอเรื่องราวร้องทุกข์)
มาตรา ๖๐ (สิทธิที่จะฟ้องหน่วยงานของรัฐ)
มาตรา ๖๑ (สิทธิของผู้บริโภค)
มาตรา ๖๒ (สิทธิติดตามและร้องขอให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่)
ส่วนที่ ๑๑ เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม
มาตรา ๖๓ (เสรีภาพในการชุมนุม)
มาตรา ๖๔ (เสรีภาพในการรวมกัน)
มาตรา ๖๕ (เสรีภาพในจัดตั้งพรรคการเมือง)
ส่วนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน
มาตรา ๖๖ (สิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูภูมิปัญญาท้องถิ่นและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม)
มาตรา ๖๗ (สิทธิอนุรักษ์ บำรุงรักษา และได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ)
มาตรา ๖๘ (การล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย)
บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ มิได้
ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทำดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการ ดังกล่าว
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้พรรคการเมืองใดเลิกกระทำการตามวรรคสองศาลรัฐธรรมนูญอาจสั่งยุบพรรคการเมืองดังกล่าวได้
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรคการเมืองตามวรรคสาม ให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของหัวหน้าพรรคการเมืองและกรรมการบริหารของพรรคการเมืองที่ถูกยุบในขณะที่กระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นระยะเวลาห้าปีนับแต่วันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งดังกล่าว
มาตรา ๖๙ (การต่อต้านโดยสันติวิธี)
สรุป
1. สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ คือ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย ที่อยู่ในหมวด ๓ ส่วนที่ ๓ ถึงส่วนที่ ๑๒ (อ่านซ้ำ *)
1.1 สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครอง คือการใช้สิทธิตามข้อ 1
การแก้ไขรัฐธรรมนูญ
ข้อเท็จจริง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
หมวด ๑๕ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๒๙๑
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้
(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วย การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้
(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภา พิจารณาเป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟัง ความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอา เสียงข้างมากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับ โดยอนุโลม
สรุป
การแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ใช่เรื่องสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญในหมวดที่ ๓ ส่วนที่ ๓ ถึง ๑๒ แต่เป็นเรื่องการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ที่อยู่ในหมวด ๑๕
คำเตือน
ห้ามเปิดพจนานุกรม หรือ ดิกชันนารี เพราะกฎหมายสูงสุดบัญญัติไว้ว่า สิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ ไม่ใช่ตามพจนานุกรม หรือ ดิกชันนารี
จบข่าว
เรื่องที่ 2 = 2
ตามมาตรา 68 ผู้ทราบการกระทำดังกล่าว (การกระทำที่ใช้สิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญที่มีอยู่ในหมวด ๓ ส่วนที่ ๓ ถึงส่วนที่ ๑๒ เพื่อล้มล้างการปกครอง) ย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้... (อัยการ) ขีดเส้นใต้สองเส้น จบสิทธิของผู้ทราบการกระทำดังกล่าว แต่ยังไม่บริบูรณ์
โปรดฟังอีกครั้งหนึ่ง สิทธิเสนอเรื่องให้...(อัยการ)
เรื่องที่ 3 = 3 (เรื่องมันยาว)
เจตนารมณ์ร่างมาตรา 68
เครดิต ขนมสาคู
ดาวน์โหลดฉบับเต็ม
http://library2.parliament.go.th/giventake/content_ca/r061850.pdf
อำนาจหน้าที่ของอัยการตามมาตรา 68
ซึ่งถูกระบุไว้ในเว็บของศาลรัฐธรรมนูญทั้งในภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษก่อนที่จะมีการแก้ไขในภายหลังดังภาพข้างล่างนี้
บรรทัดฐาน //ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงแถวรในปัจจุบัน
ซึ่งพันธมิตรยังรู้และได้นำมาปฏิบัติ //ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงแถวรในปัจจุบัน
จบบริบูรณ์