สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 4
ตอบเป็นข้อ ๆ นะครับ
1. เข้าใจว่าทางช้างเผือกที่เห็นบนท้องฟ้ายามค่ำคืนนั้น คือแขนๆหนึ่งในดาราจักรทางช้างเผือก
คำถามคือมันเป็นจริงๆหรือเป็นเดือย แล้วส่วนนั้นที่เราเป็นมันถูกตั้งชื่อว่าอะไรครับ
- ระบบสุริยะของเรา อยู่ในตำแหน่งที่เรียกว่า Local spur Arms ครับ ตามภาพนี้
แต่ ... ภาพทางช้างเผือกที่เราถ่ายได้ยามค่ำคืน นั้น คือแกนกลางแกแลคซี่ (Galaxtic Core)
ไม่ใช่แขนของแกแลคซี่ครับ เพราะช่วงแขนต่าง ๆ นั้นมีความหนาแน่นเบาบาง(หากเทียบกับ Core)
แขนต่าง ๆ ไม่สามารถเห็นได้เป็นรูปร่างครับ เพราะความหนาแน่นของดาวฤกษ์น้อยเกินไป
2. ช่วยเอารูปคร่าวๆประกอบด้วยก็ดีครับ ประมาณว่า แนวของระบบสุริยะของเราทำมุมเท่านั้นเท่านี้องศากับแนวของแขนที่เราเห็น
ถ้าเรายืนบนโลก หันขึ้นบนท้องฟ้า แขนไหนจะพาดให้เราเห็น อะไรประมาณนี้ครับ เอาลูกศรชี้ก็จะดีเลยครับ อยากได้แบบละเอียดๆ
- ระบบสุริยะของเราโคจรทำมุมประมาณ 67 - 90 องศาเทียบกับระนาบของทางช้างเผือก
มุม 67 - 90 องศานี้เป็นไปตามภาพล่างนี้ และแปรเปลี่ยนไปตามการเคลื่อนที่แบบ wobbles ขึ้น ๆ ลง ๆ
ภาพการเคลื่อนที่แบบ Wobble
3. มีอีกครับ ดาวฤกษ์ที่เรามองเห็นในท้องฟ้า ที่เราจัดไว้เป็นกลุ่มเนี่ย ส่วนใหญ่จะอยู่ใกล้ๆ ในแขนที่ระบบสุริยะเราอยู่ใช่ไหมครับ
แล้วมีที่ไกลๆไหมครับ ขนาดไกลๆดาราจักรแอนโดรเมดา เรายังพอมองเห็นมันเลย
- ใช่แล้วครับ เกือบทั้งหมดอยู่ในบริเวณแขน Local ซึ่งมีอาณาบริเวณประมาณ 50 - 1,500 ปีแสง
แขนอื่น ๆ ของทางช้างเผือกจะห่างออกไปเฉียด 10,000 ปีแสง ซึ่งเราไม่สามารถเห็นดาวฤกษ์พวกนั้นได้
1. เข้าใจว่าทางช้างเผือกที่เห็นบนท้องฟ้ายามค่ำคืนนั้น คือแขนๆหนึ่งในดาราจักรทางช้างเผือก
คำถามคือมันเป็นจริงๆหรือเป็นเดือย แล้วส่วนนั้นที่เราเป็นมันถูกตั้งชื่อว่าอะไรครับ
- ระบบสุริยะของเรา อยู่ในตำแหน่งที่เรียกว่า Local spur Arms ครับ ตามภาพนี้
แต่ ... ภาพทางช้างเผือกที่เราถ่ายได้ยามค่ำคืน นั้น คือแกนกลางแกแลคซี่ (Galaxtic Core)
ไม่ใช่แขนของแกแลคซี่ครับ เพราะช่วงแขนต่าง ๆ นั้นมีความหนาแน่นเบาบาง(หากเทียบกับ Core)
แขนต่าง ๆ ไม่สามารถเห็นได้เป็นรูปร่างครับ เพราะความหนาแน่นของดาวฤกษ์น้อยเกินไป
2. ช่วยเอารูปคร่าวๆประกอบด้วยก็ดีครับ ประมาณว่า แนวของระบบสุริยะของเราทำมุมเท่านั้นเท่านี้องศากับแนวของแขนที่เราเห็น
ถ้าเรายืนบนโลก หันขึ้นบนท้องฟ้า แขนไหนจะพาดให้เราเห็น อะไรประมาณนี้ครับ เอาลูกศรชี้ก็จะดีเลยครับ อยากได้แบบละเอียดๆ
- ระบบสุริยะของเราโคจรทำมุมประมาณ 67 - 90 องศาเทียบกับระนาบของทางช้างเผือก
มุม 67 - 90 องศานี้เป็นไปตามภาพล่างนี้ และแปรเปลี่ยนไปตามการเคลื่อนที่แบบ wobbles ขึ้น ๆ ลง ๆ
ภาพการเคลื่อนที่แบบ Wobble
3. มีอีกครับ ดาวฤกษ์ที่เรามองเห็นในท้องฟ้า ที่เราจัดไว้เป็นกลุ่มเนี่ย ส่วนใหญ่จะอยู่ใกล้ๆ ในแขนที่ระบบสุริยะเราอยู่ใช่ไหมครับ
แล้วมีที่ไกลๆไหมครับ ขนาดไกลๆดาราจักรแอนโดรเมดา เรายังพอมองเห็นมันเลย
- ใช่แล้วครับ เกือบทั้งหมดอยู่ในบริเวณแขน Local ซึ่งมีอาณาบริเวณประมาณ 50 - 1,500 ปีแสง
แขนอื่น ๆ ของทางช้างเผือกจะห่างออกไปเฉียด 10,000 ปีแสง ซึ่งเราไม่สามารถเห็นดาวฤกษ์พวกนั้นได้
แสดงความคิดเห็น
ถามเกี่ยวกับทางช้างเผือกครับ
เข้าใจว่าทางช้างเผือกที่เห็นบนท้องฟ้ายามค่ำคืนนั้น คือแขนๆหนึ่งในดาราจักรทางช้างเผือก คำถามคือมันเป็นจริงๆหรือเป็นเดือย แล้วส่วนนั้นที่เราเป็นมันถูกตั้งชื่อว่าอะไรครับ
ช่วยเอารูปคร่าวๆประกอบด้วยก็ดีครับ ประมาณว่า แนวของระบบสุริยะของเราทำมุมเท่านั้นเท่านี้องศากับแนวของแขนที่เราเห็น ถ้าเรายืนบนโลก หันขึ้นบนท้องฟ้า แขนไหนจะพาดให้เราเห็น อะไรประมาณนี้ครับ เอาลูกศรชี้ก็จะดีเลยครับ อยากได้แบบละเอียดๆ
มีอีกครับ ดาวฤกษ์ที่เรามองเห็นในท้องฟ้า ที่เราจัดไว้เป็นกลุ่มเนี่ย ส่วนใหญ่จะอยู่ใกล้ๆ ในแขนที่ระบบสุริยะเราอยู่ใช่ไหมครับ แล้วมีที่ไกลๆไหมครับ ขนาดไกลๆดาราจักรแอนโดรเมดา เรายังพอมองเห็นมันเลย
รบกวนด้วยครับ