ภิกษุ ท.! สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า? ภิกษุ ท.! หมู่
แห่งเจตนาหกเหล่านี้ คือ สัญเจตนา (ความตรึกคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนา
ในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนา
ในเรื่องโผฎฐัพพ ะ, และสัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์. ภิก ษุ ท .! นี้
เรียกว่า สังขารทั้งหลาย.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖.
ภิกษุ ท.! สัญเจตนาในเรื่องรูป เป็นของไม่เที่ยง
มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้;
ภิกษุ ท.! สัญเจตนาในเรื่องเสียง เป็นของไม่เที่ยง มีความแปร-
ปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้;
ภิกษุ ท.! สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปร-
ปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้;
ภิกษุ ท.! สัญเจตนาในเรื่องรส เป็นของไม่เที่ยง มีความแปร-
ปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้;
ภิกษุ ท.! สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ เป็นของไม่เที่ยง มีความ
แปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้;
ภิกษุ ท.! สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง มีความ
แปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๕.
ภิกษุ ท.! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ และความปรากฏ ของสัญเจตนา
ในเรื่องรูป สัญเจตนาในเรื่องเสียง สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น สัญเจตนาในเรื่อง
รส สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ และสัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ ใด ๆ นั่น
เท่ากับ เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์, เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปรกติเสียดแทง
ทั้งหลาย, และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๙๑.
ภิก ษุ ท .! สังขา ร ทั ง หลา ย เป็น อ ย่า ง ไร เล่า ? ภิก ษุ ท .!
หมู่แห่งเจตนาหกเหล่านี้ คือ สัญเจตนาในเรื่องรูป, สัญเจตนา
ในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญ เจตนา
ใน เรื่องโผฏฐัพพะ, และสัญเจตนาใน เรื่องธรรมารมณ์. ภิก ษุ ท.! นี้
เรียกว่า สังขารทั้งหลาย. ความเกิดขึ้นแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้เพราะความ
เกิดขึ้นแห่งผัสสะ; ความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ เพราะความดับ
ไม่เหลือแห่งผัสสะ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็น ทางดำเนินให้ถึงความ
ดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำ ริชอบ;
การพูดจาชอบ การทำ การงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ; ความพากเพียรชอบ
ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.
- ขนฺธ.สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖.
ภิกษุ ท.! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์
ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิด (สัมภเวสี)บ้าง. อาหาร
สี่อย่างอะไรเล่า? สี่อย่างคือ อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคำ ข้าว หยาบก็ตาม
ละเอียดก็ตาม, อาหารที่สอง คือ ผัสสะ, อาหารที่สาม คือมโนสัญเจตนา
(ใจมีความคิดนึกแล้วจึงกระทำ...ก็รู้อยู่ว่าไฟมันร้อน),
อาหารทีสี่ คือ วิญ ญ าณ; ภิกษุ ท.! อาหารสี่อย่างเหล่านี้
แล มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลัง
แสวงหาที่เกิดบ้าง.
ภิกษุ ท.! ก็อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด (นิทาน)?
มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด (สมุทัย)? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด (ชาติ)?
แ ละมีอะไรเปนแดนเกด(ภ พ )? ภ ก ษ ท .! อ า ห า ร สี อ ย า ง เห ล า นี มี
ตัณ ห าเป็ น เห ตุ ให้ เกิด, มีตัณ หาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณ หาเป็นเครื่อง
กำเนิด, และมีตัณหาเป็นแดนเกิด แล.
- นิทาน. สํง ๑๖/๑๔/๒๘-๒๙.
ภิกษุ ท.! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง การปรากฏ
แ ห ง จัก ษ , อัน ใด; อัน นั้น เป็น ก า รเกิด ขึ้น แ ห่งทุก ข์, เป็น ก า รตั้งอ ยู่
แห่งโรค, เป็นการปรากฏออกแห่ง ชราและมรณะ.
(ในกรณีแห่ง โสตะ มานะ ชิวหา กายะ และมนะ ก็ตรัสไว้โดยข้อความอย่าง
เดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ.) คือ
สิ่งนั้น ๆ ทำหน้าที่แ ห่งทุก ข์ของมัน ตาม
อำนาจของอวิชชา.
เพราะมีอะไร......
ในสูตรอื่น ๆ แทนที่จะทรงแสดงด้วยอายตนะภายในอย่างนี้ ได้ทรงแสดงไว้ด้วย
อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก สัญญาหก สัญเจตนาหก ตัณหาหก ธาตุ
หก และขันธ์ห้า.
นอกจากนั้น ดังได้ทรงแสดงฝ่ายดับโดยปฏิปักขนัยเป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
ความเข้าไปสงบแห่งโรค ความตั้งอยู่ไม่ได้แห่งชรามรณะ ตรงกันข้ามจากข้อความฝ่ายเกิด ทุก ๆ
ข้อด้วย ซึ่งผู้ศึกษาอาจกำหนดได้ด้วยตนเอง).
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๓ - ๒๘๗/๔๗๙ - ๔๙๘.
ความเกิดขึ้นแห่งอายตนะ666666665 นั้นคือความเกิดขึ้นแห่งทุกข์
แห่งเจตนาหกเหล่านี้ คือ สัญเจตนา (ความตรึกคิดนึก) ในเรื่องรูป, สัญเจตนา
ในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญเจตนา
ในเรื่องโผฎฐัพพ ะ, และสัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์. ภิก ษุ ท .! นี้
เรียกว่า สังขารทั้งหลาย.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖.
ภิกษุ ท.! สัญเจตนาในเรื่องรูป เป็นของไม่เที่ยง
มีความแปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้;
ภิกษุ ท.! สัญเจตนาในเรื่องเสียง เป็นของไม่เที่ยง มีความแปร-
ปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้;
ภิกษุ ท.! สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น เป็นของไม่เที่ยง มีความแปร-
ปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้;
ภิกษุ ท.! สัญเจตนาในเรื่องรส เป็นของไม่เที่ยง มีความแปร-
ปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้;
ภิกษุ ท.! สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ เป็นของไม่เที่ยง มีความ
แปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้;
ภิกษุ ท.! สัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ เป็นของไม่เที่ยง มีความ
แปรปรวน มีความเป็นโดยอย่างอื่นได้ แล.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๐/๔๗๕.
ภิกษุ ท.! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ และความปรากฏ ของสัญเจตนา
ในเรื่องรูป สัญเจตนาในเรื่องเสียง สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น สัญเจตนาในเรื่อง
รส สัญเจตนาในเรื่องโผฏฐัพพะ และสัญเจตนาในเรื่องธรรมารมณ์ ใด ๆ นั่น
เท่ากับ เป็นการเกิดขึ้นของทุกข์, เป็นการตั้งอยู่ของสิ่งซึ่งมีปรกติเสียดแทง
ทั้งหลาย, และเป็นความปรากฏของชราและมรณะ แล.
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๕/๔๙๑.
ภิก ษุ ท .! สังขา ร ทั ง หลา ย เป็น อ ย่า ง ไร เล่า ? ภิก ษุ ท .!
หมู่แห่งเจตนาหกเหล่านี้ คือ สัญเจตนาในเรื่องรูป, สัญเจตนา
ในเรื่องเสียง, สัญเจตนาในเรื่องกลิ่น, สัญเจตนาในเรื่องรส, สัญ เจตนา
ใน เรื่องโผฏฐัพพะ, และสัญเจตนาใน เรื่องธรรมารมณ์. ภิก ษุ ท.! นี้
เรียกว่า สังขารทั้งหลาย. ความเกิดขึ้นแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้เพราะความ
เกิดขึ้นแห่งผัสสะ; ความดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย มีได้ เพราะความดับ
ไม่เหลือแห่งผัสสะ; อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้นั่นเอง เป็น ทางดำเนินให้ถึงความ
ดับไม่เหลือแห่งสังขารทั้งหลาย, ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำ ริชอบ;
การพูดจาชอบ การทำ การงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ; ความพากเพียรชอบ
ความระลึกชอบ ความตั้งใจมั่นชอบ.
- ขนฺธ.สํ. ๑๗/๗๔/๑๑๖.
ภิกษุ ท.! อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์
ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลังแสวงหาที่เกิด (สัมภเวสี)บ้าง. อาหาร
สี่อย่างอะไรเล่า? สี่อย่างคือ อาหารที่หนึ่ง คือ อาหารคำ ข้าว หยาบก็ตาม
ละเอียดก็ตาม, อาหารที่สอง คือ ผัสสะ, อาหารที่สาม คือมโนสัญเจตนา
(ใจมีความคิดนึกแล้วจึงกระทำ...ก็รู้อยู่ว่าไฟมันร้อน),
อาหารทีสี่ คือ วิญ ญ าณ; ภิกษุ ท.! อาหารสี่อย่างเหล่านี้
แล มีอยู่ เพื่อความตั้งอยู่ได้ของสัตว์ผู้เกิดแล้วบ้าง เพื่ออนุเคราะห์สัตว์ผู้กำลัง
แสวงหาที่เกิดบ้าง.
ภิกษุ ท.! ก็อาหารสี่อย่างเหล่านี้ มีอะไรเป็นเหตุให้เกิด (นิทาน)?
มีอะไรเป็นเครื่องก่อให้เกิด (สมุทัย)? มีอะไรเป็นเครื่องกำเนิด (ชาติ)?
แ ละมีอะไรเปนแดนเกด(ภ พ )? ภ ก ษ ท .! อ า ห า ร สี อ ย า ง เห ล า นี มี
ตัณ ห าเป็ น เห ตุ ให้ เกิด, มีตัณ หาเป็นเครื่องก่อให้เกิด, มีตัณ หาเป็นเครื่อง
กำเนิด, และมีตัณหาเป็นแดนเกิด แล.
- นิทาน. สํง ๑๖/๑๔/๒๘-๒๙.
ภิกษุ ท.! การเกิดขึ้น การตั้งอยู่ การเกิดโดยยิ่ง การปรากฏ
แ ห ง จัก ษ , อัน ใด; อัน นั้น เป็น ก า รเกิด ขึ้น แ ห่งทุก ข์, เป็น ก า รตั้งอ ยู่
แห่งโรค, เป็นการปรากฏออกแห่ง ชราและมรณะ.
(ในกรณีแห่ง โสตะ มานะ ชิวหา กายะ และมนะ ก็ตรัสไว้โดยข้อความอย่าง
เดียวกันกับในกรณีแห่งจักษุ.) คือ
สิ่งนั้น ๆ ทำหน้าที่แ ห่งทุก ข์ของมัน ตาม
อำนาจของอวิชชา.
เพราะมีอะไร......
ในสูตรอื่น ๆ แทนที่จะทรงแสดงด้วยอายตนะภายในอย่างนี้ ได้ทรงแสดงไว้ด้วย
อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก สัญญาหก สัญเจตนาหก ตัณหาหก ธาตุ
หก และขันธ์ห้า.
นอกจากนั้น ดังได้ทรงแสดงฝ่ายดับโดยปฏิปักขนัยเป็นความดับไม่เหลือแห่งทุกข์
ความเข้าไปสงบแห่งโรค ความตั้งอยู่ไม่ได้แห่งชรามรณะ ตรงกันข้ามจากข้อความฝ่ายเกิด ทุก ๆ
ข้อด้วย ซึ่งผู้ศึกษาอาจกำหนดได้ด้วยตนเอง).
- ขนฺธ. สํ. ๑๗/๒๘๓ - ๒๘๗/๔๗๙ - ๔๙๘.