เช่น ในโฆษณานี้ หมอกก็ไม่มี แต่เปิดไฟตัดหมอก (โฆษณายี่ห้ออื่นๆ ก็มีไม่ต้องดราม่ากัน)
คนไทยบางส่วนก็เลยคิดว่าเปิดได้ และเมื่อเปิดแล้วมันดูสวย แล้วก็พากันเปิดไฟตัดหมอกกันทั่วบ้านทั่วเมือง ทั้งที่ไม่มีหมอกเลย
โดยแสงจากหลอดไฟตัดหมอก จะไปแยง และ รบกวนสายตาผู้ที่ขับรถสวนทางมา ทำให้ตาพร่ามัว จึงมีโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุได้สูงกว่าปกติ
"ไฟตัดหมอก” ถือกำเนิดขึ้นมาในแถบประเทศที่มีภูมิประเทศเป็นภูเขาสูง หรือแถบที่อากาศ หนาวหรือประเทศที่เป็นเกาะล้อมรอบด้วยน้ำ ทำให้มีฝนตกบ่อยตลอดทั้งปี มีบรรยากาศที่ขมุกขมัวหรือมีหมอกเป็นส่วนมาก หรือมีหมอกมีฝนมากกว่าเวลาที่อากาศปลอดโปร่ง ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยในการใช้ยานพาหนะจึงมีการคิดค้นไฟตัดหมอกขึ้นมา
ปัจจุบันคนไทยนิยมตกแต่งรถด้วยไฟตัดหมอก และมักเปิดใช้อย่างพร่ำเพรื่อ ผิดวิธี ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้เส้นทางรายอื่นๆ กล่าวคือ ไฟตัดหมอก เป็นไฟที่ให้ความสว่างสูง ส่วนใหญ่หลอดจะเป็สปอตไลท์ จึงสามารถส่องสว่างไปได้ไกล ซึ่งหากเปิดใช้ในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม แสงจากหลอดไฟตัดหมอก จะไปแยงและ รบกวนสายตาผู้ที่ขับรถสวนทางมา ทำให้ตาพร่ามัว จึงมีโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุได้สูงกว่าปกติ
การใช้ไฟตัดหมอกที่ถูกต้องตามกฎหมายนั้น ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้มีการระบุการใช้ไฟตัดหมอก สามารถใช้ได้ต่อเมื่อรถวิ่งอยู่ในสภาวะที่มีหมอก ควัน หรือฝุ่นละอองจนเป็นอุปสรรค อันอาจเกิดอันตรายในขณะขับรถ
และต้องไม่มีรถอยู่ด้านหน้าหรือ สวนมาในระยะของแสงไฟ หรือในระยะ 150 เมตร โดยสามารถใช้หลอดไฟแสงขาวหรือแสงเหลือง ที่มีกำลังไฟไม่เกินดวงละ 55 วัตต์ เท่านั้น หากมีการใช้ไฟตัดหมอกไม่เป็นไปตามประเภท ลักษณะและเงื่อนไขที่กำหนด จะมีโทษปรับไม่เกิน 500 บาท ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๑๔๘
http://www.ptmton.police7.go.th/index.php?option=com_content&task=view&id=187&Itemid=131
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ตัวบทกฎหมายและโทษ ท่านสามารถอ่านเพิ่มเติมได้จาก
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
http://ilab.dopa.go.th/internal/legal/knowledge/25/rule15_2536.pdf
พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
http://tumboltasai.go.th/modules/law/1346754948.pdf
มาดูสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้คนไทยเปิดไฟตัดหมอก โดยไม่รู้ตัวว่าผิดกฎหมาย
เช่น ในโฆษณานี้ หมอกก็ไม่มี แต่เปิดไฟตัดหมอก (โฆษณายี่ห้ออื่นๆ ก็มีไม่ต้องดราม่ากัน)
คนไทยบางส่วนก็เลยคิดว่าเปิดได้ และเมื่อเปิดแล้วมันดูสวย แล้วก็พากันเปิดไฟตัดหมอกกันทั่วบ้านทั่วเมือง ทั้งที่ไม่มีหมอกเลย
โดยแสงจากหลอดไฟตัดหมอก จะไปแยง และ รบกวนสายตาผู้ที่ขับรถสวนทางมา ทำให้ตาพร่ามัว จึงมีโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุได้สูงกว่าปกติ
"ไฟตัดหมอก” ถือกำเนิดขึ้นมาในแถบประเทศที่มีภูมิประเทศเป็นภูเขาสูง หรือแถบที่อากาศ หนาวหรือประเทศที่เป็นเกาะล้อมรอบด้วยน้ำ ทำให้มีฝนตกบ่อยตลอดทั้งปี มีบรรยากาศที่ขมุกขมัวหรือมีหมอกเป็นส่วนมาก หรือมีหมอกมีฝนมากกว่าเวลาที่อากาศปลอดโปร่ง ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยในการใช้ยานพาหนะจึงมีการคิดค้นไฟตัดหมอกขึ้นมา
ปัจจุบันคนไทยนิยมตกแต่งรถด้วยไฟตัดหมอก และมักเปิดใช้อย่างพร่ำเพรื่อ ผิดวิธี ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้เส้นทางรายอื่นๆ กล่าวคือ ไฟตัดหมอก เป็นไฟที่ให้ความสว่างสูง ส่วนใหญ่หลอดจะเป็สปอตไลท์ จึงสามารถส่องสว่างไปได้ไกล ซึ่งหากเปิดใช้ในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม แสงจากหลอดไฟตัดหมอก จะไปแยงและ รบกวนสายตาผู้ที่ขับรถสวนทางมา ทำให้ตาพร่ามัว จึงมีโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุได้สูงกว่าปกติ
การใช้ไฟตัดหมอกที่ถูกต้องตามกฎหมายนั้น ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้มีการระบุการใช้ไฟตัดหมอก สามารถใช้ได้ต่อเมื่อรถวิ่งอยู่ในสภาวะที่มีหมอก ควัน หรือฝุ่นละอองจนเป็นอุปสรรค อันอาจเกิดอันตรายในขณะขับรถและต้องไม่มีรถอยู่ด้านหน้าหรือ สวนมาในระยะของแสงไฟ หรือในระยะ 150 เมตร โดยสามารถใช้หลอดไฟแสงขาวหรือแสงเหลือง ที่มีกำลังไฟไม่เกินดวงละ 55 วัตต์ เท่านั้น หากมีการใช้ไฟตัดหมอกไม่เป็นไปตามประเภท ลักษณะและเงื่อนไขที่กำหนด จะมีโทษปรับไม่เกิน 500 บาท ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๑๔๘
http://www.ptmton.police7.go.th/index.php?option=com_content&task=view&id=187&Itemid=131
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ตัวบทกฎหมายและโทษ ท่านสามารถอ่านเพิ่มเติมได้จาก
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
http://ilab.dopa.go.th/internal/legal/knowledge/25/rule15_2536.pdf
พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
http://tumboltasai.go.th/modules/law/1346754948.pdf