ความจริงเกี่ยวกับสำเนียงลาวราชการ(ลาวเวียงจันทน์)

แรกเริ่มเดิมทีผมก็สงสัยตั้งนานว่าทำไมสำเนียงลาวถึงมีอิทธิพลของคำศัพท์ของบ้านเราเยอะจัง เพราะผมได้มาดูคลิปนี้ก็เริ่มอ๋อขึ้นมาทันทีอาจเนื่องด้วยจากสมัยที่ลาวนั้นเคยเป็นประเทศราชของไทยซึ่งย้อนรอยไป 100 กว่าปี ลาวจึงได้รับอิทธิพลทางภาษาจากไทยจนคล้ายว่าจะถูกกลืน แต่ที่จริงศัพท์ที่เราได้ยินว่าใช้แบบบ้านเรา เป็นคำทางสื่อ และภาษาระดับทางการของบ้านเค้า คนที่เรียนภาษาไทยมาคงจะเข้าใจภาษาระดับทางการแต่ถ้าระดับกันเองจะใกล้เคียงกับภาษาอีสานบ้านเรา(ปล.ย้ำว่าเฉพาะศัพท์นะครับ) ประมาณ 75%ของสำเนียงอีสาน อีก 25 จะเป็นศัพท์เฉพาะทางฝั่งลาวที่บ้านเราเลิกใช้ หรือใช้กันน้อย เช่น ทางลุ่ม ที่แปลว่าข้างล่าง และอีกหลายๆครับ แต่โดยรวมระดับกันเอง ชั้นๆลางจะแบบอีสานเลยครับ ดูตัวอย่างได้ดังนี้ครับ

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ(ตัวอย่างจากหนังลาว)

นี่คือตัวอย่างแบบเรียกน้ำย่อยๆ นิดนึงครับ


ข้างล่างต่อไปนี้เป็นช่วงลองของจริง
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
นี่แหละครับอย่างที่ได้ยินศัพท์จะเป็นแบบอีสานซะส่วนใหญ่

ปล. ใครที่ใกล้เคียงกับเหนือ ผมว่า มันคล้ายแค่นิดเดียวอ่ะครับ แค่นุ่มๆเหมือนกันและใช้ เจ้าเหมือนกัน แต่ทีนี้ เวลาคุยกับผู้ใหญ่ใช้ว่า โดย ครับ หางเสียง งั้นผมถามหน่อย ภาษาเหนือ มีคำว่า โพด ที่แปลว่า เกินไปเลย ครับ แล้วคำว่า คักอีก จังแม่น เด้ออีก ลัก อีก ถ่า ที่แปลว่า รออีกภาคเหนือมีมั้ยเอ่ย เซา ที่แปลว่าเลิกมีมั้ย เหมื่อย ที่แปลว่า เหนื่อยด้วย
อีกสาเหตุที่ใช้คำไทยในสำเนียงลาวอาจจะเพราะ1. อยากให้เราเข้าใจง่าย และ 2. อยากให้กลมกลืน
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่