คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
มีเยอะครับ บริษัทที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อขายไฟจากพลังงานแสงอาทิตย์ เพราะมันดำเนินการง่ายที่สุดแล้ว ส่วนใหญ่ถ้ามีการเปิดรับซื้อตอนนี้ เค้าก็ทำกันประมาณ 1MW ก่อสร้างไม่ถึงปี เสร็บปุ๊บก็ขายไฟได้เลย เดือนๆหนึ่งขายได้ 7-9 แสนสบายๆ ในอัตรา 6.15 บาท/หน่วย ของโครงการในปีนี้นะ
ผลิตได้ก็จ่ายเข้าระบบไปเลย ระบบจะทำงานเฉพาะช่วงที่มีแดด ขอแค่มีแดดอ่อนๆก็จ่ายไฟได้แล้ว
จะจ่ายเข้าระบบของการไฟฟ้าอย่างไรนั้น มันก็ขึ้นอยู่กับขนาดระบบของเราครับ ถ้าเล็กๆ 10-20kW ก็จ่ายเข้าระดับแรงดันบ้าน ถ้าขนาดระดับ MW ก็จ่ายผ่านหม้อแปลงแรงสูง เข้าระบบสายส่งของการไฟฟ้าไปเลย
อาจจะมองว่ามันลงทุนสูง แต่อย่าลืมว่ามันกินยาว ไอ้ของที่กลัวๆว่ามันจะพังอย่างนู้นอย่างนี้ จริงๆแล้วมันก็เป็นเรื่องของความเสียงทางธุรกิจอย่างหนึ่ง ถ้าเราหาของที่มีคุณภาพ มีการรับประกัน ถ้าเตรียมทุกอย่างมาดี ก็ไม่ต้องกลัวหรอกครับ ลุยเลย
เรื่องของพลังงานลม หลักๆเลย บ้านเราลมไม่แรงครับ ทำเลติดตั้งก็ต้องเป็นแนวเขาแนวช่องลม หรือริมทะเล ไม่งั้นมันไม่หมุน อีกอย่าง เวลามันหมุน มันจะเสียงดังด้วย สำหรับตัวใหญ่ๆนะ ยิ่งการติดตั้งไม่ต้องพูดถึง ใบพัดหนึ่งใบยาวเกือบ 20 เมตร หรืออาจจะมากกว่านี้ เสาอีก ต้นหนึ่งไม่รู้กี่เมตร ดังนั้นการติดตั้งต้องใช้ทีมบริษัทผู้ชำนาญการ ซึ่งแน่นอน ต้นทุนมันก็จะสูงด้วย
ในบรรดาโรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ติดตั้งง่ายสุดครับ จึงไม่แปลกใจที่เวลามีโครงการต่างๆออกมารับซื้อ ก็จะมีบริษัทต่างๆทั้งใหม่ทั้งเก่าแห่กันแย่งขอใบอนุญาตเต็มไปหมด ยกเว้นภาคใต้ เหตุผลคือ หน้าฝนมันเยอะกว่าหน้าร้อน
รายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกรอบแรก ที่ขออนุญาตขายไฟสำหรับพื้นที่ กฟน. http://www.mea.or.th/content/detail.php?mid=87&did=914&tid=&pid=
รายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกรอบแรก ที่ขออนุญาตขายไฟสำหรับพื้นที่ กฟภ. http://www.pea.co.th/vspp/Pages/RT_annouce.aspx
จะลองติดตั้งดูสักระบบมั้นหละครับ ตอนนี้เค้าขยายเวลายื่นใบอนุญาตประเภทบ้านออกไปจนถึงวันที่ 15 พ.ย 56 แล้วนะครับ
www.blueconcept.co.th
ผลิตได้ก็จ่ายเข้าระบบไปเลย ระบบจะทำงานเฉพาะช่วงที่มีแดด ขอแค่มีแดดอ่อนๆก็จ่ายไฟได้แล้ว
จะจ่ายเข้าระบบของการไฟฟ้าอย่างไรนั้น มันก็ขึ้นอยู่กับขนาดระบบของเราครับ ถ้าเล็กๆ 10-20kW ก็จ่ายเข้าระดับแรงดันบ้าน ถ้าขนาดระดับ MW ก็จ่ายผ่านหม้อแปลงแรงสูง เข้าระบบสายส่งของการไฟฟ้าไปเลย
อาจจะมองว่ามันลงทุนสูง แต่อย่าลืมว่ามันกินยาว ไอ้ของที่กลัวๆว่ามันจะพังอย่างนู้นอย่างนี้ จริงๆแล้วมันก็เป็นเรื่องของความเสียงทางธุรกิจอย่างหนึ่ง ถ้าเราหาของที่มีคุณภาพ มีการรับประกัน ถ้าเตรียมทุกอย่างมาดี ก็ไม่ต้องกลัวหรอกครับ ลุยเลย
เรื่องของพลังงานลม หลักๆเลย บ้านเราลมไม่แรงครับ ทำเลติดตั้งก็ต้องเป็นแนวเขาแนวช่องลม หรือริมทะเล ไม่งั้นมันไม่หมุน อีกอย่าง เวลามันหมุน มันจะเสียงดังด้วย สำหรับตัวใหญ่ๆนะ ยิ่งการติดตั้งไม่ต้องพูดถึง ใบพัดหนึ่งใบยาวเกือบ 20 เมตร หรืออาจจะมากกว่านี้ เสาอีก ต้นหนึ่งไม่รู้กี่เมตร ดังนั้นการติดตั้งต้องใช้ทีมบริษัทผู้ชำนาญการ ซึ่งแน่นอน ต้นทุนมันก็จะสูงด้วย
ในบรรดาโรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ติดตั้งง่ายสุดครับ จึงไม่แปลกใจที่เวลามีโครงการต่างๆออกมารับซื้อ ก็จะมีบริษัทต่างๆทั้งใหม่ทั้งเก่าแห่กันแย่งขอใบอนุญาตเต็มไปหมด ยกเว้นภาคใต้ เหตุผลคือ หน้าฝนมันเยอะกว่าหน้าร้อน
รายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกรอบแรก ที่ขออนุญาตขายไฟสำหรับพื้นที่ กฟน. http://www.mea.or.th/content/detail.php?mid=87&did=914&tid=&pid=
รายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกรอบแรก ที่ขออนุญาตขายไฟสำหรับพื้นที่ กฟภ. http://www.pea.co.th/vspp/Pages/RT_annouce.aspx
จะลองติดตั้งดูสักระบบมั้นหละครับ ตอนนี้เค้าขยายเวลายื่นใบอนุญาตประเภทบ้านออกไปจนถึงวันที่ 15 พ.ย 56 แล้วนะครับ
www.blueconcept.co.th
แสดงความคิดเห็น
ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน บริษัทไหนผลิตได้มากที่สุด แล้วขายให้กฟภยังไง
2. ขายให้ กฟภ ยังไง ส่งเข้าสายส่ง หรือส่งเข้าอะไร ยังไงครับ
3. แล้วตอนนี้ระหว่างพลังงานทดแทนจาก แสงอาทิตย์ กับลม เทียบจากต้นทุนในการดำเนินการอย่างไหนน่าจะแพงกว่า
4. บริษัทไหนในอนาคตน่าจะเป็น เบอร์หนึ่งในธุรกิจนี้ การโต กำไร