ผมยอมรับ ว่า ตัวเอง ไม่ทันสมัยเลย ในเรื่องของ ยาง
เมื่อตะกี้ อ่าน น.ส.พ. ข่าวสด ที่ บุญสอน ซื้อมาฝาก จากในเมือง
อ่าน คอลัมน์ เลขที่ 13 เขาเขียนเรื่อง เงินสงเคราะห์ ( cess )
ที่เก็บ จากผู้ส่งออกยาง ตามเลท ของ ราค่ายาง ยี่งสูง ก้ยี่งเก็บมาก
ได้เงิน ปีละ เป็นหมื่นล้านบาท นัยว่า เอามา พัฒนา เรื่องการวิจัย เรื่องยาง
ลองไปหา อ่านในรายละเอียดกัน นะครับ ปีที่แล้ว ฟันซะ 12000 ล้านบาท
แม้ว่า เงิน 85 % จะกลับไปหา เกษตรกร ผู้ปลูกยาง ก็ตาม ผมไม่เคยเห็นเงิน
จำนวนนี้ ทุกบาท ทุกสตางคื ของการลงทุน ผม ผุ้ปลุก ออกเองหมด ขนาด จะทำวิจัย
เรื่องดิน ก่อนปลูก ยังต้องไปอาศัย ม. เกษตร ที่ ชอบพอกันทำ
เงิน กินเปล่านี้ ผุ้ส่งออก ได้ ผลัก ให้เป้นภาระ ของ ผู้ทำสวนยาง ทั้งในและ
นอกระบบ
เงินกินเปล่า นี้ เหมือนกับ เงินค่าพรีเมี่ยมข้าว ที่เก็บ กับผู้ส่งออกข้าว เมื่อ
สมัย ก่อนปี 2500 แล้ว ก้ยกเลิกในที่สุด ครับ เป้นการบ้านอย่างหนึ่ง
ของชาวยาง ที่จะต้อง เอาเรื่องไปคุยกับ กระทรวง นายบรรหาร
เห็นว่า เงินจำนวนนี้ ที่เก็บค่าต๋ง เมื่อยาง ราคาเกินกว่า 100 บาทเก็บถึง 5 บาท ต่อกิโล
ทุกอย่างที่กระทรวงนี้ และรัฐบาลชุดไหน ก็ทำต่อกันมา แทบ จะปกปิด วิธีการ
เช่นนี้ กับ เกษตรกร อย่างน้ำยางสด ขณะนี้ ราคา 63 บาท ถ้าไม่มีการเก็บต๋ง
ผมจะได้ ป็น 64 บาท โดยอัตโนมัติ เงินของเกษตรกร หายไป โดยไม่รู้สาเหตุ
ผมไม่ทราบ ว่า เงิน นี้ เก็บตั้งแต่แรก จนบัดนี้ มีค่าเท่าใด คงหลายแสนล้านบาท
อาจเป็นล้าน ๆบาท ก็ได้ ใช้จ่ายไปอย่างไร อำนาจการจ่าย เป็นของใคร
นี่คือ สี่งที่รัฐบาล ปกปิด ชาวเกษตรกร มาตลอด ผมมีหน้าที่จะต้องหาความจริงวมาให้ กับ ขาวยาง
แถวบ้าน ให้รู้กัน แล้วอย่าว่า กันนะครับ
คุณยี่งลักษณ์ ครับ ขอให้ท่าน ช่วยเคลีย เรื่องนี้ ให้กระจ่างหน่อย อย่าให้ผม ต้องหาข้อมูลเองเลย
และถ้า ยกเลิกไปโดยถาวร ได้ ก็ทำเสีย มันเหมือนเหลือบ ที่เกาะกิน ชาวยาง
โดยถูก ก.ม. ยังไง ยังงั้น
แล้วข้อเรียกร้อง อีกครั้ง เอากระทรวงนี้ คืนมาจาก นายบรรหารเสีย เอามาจัดการให้โปร่งใส
ไม่งั้นแล้ว ชาวยางอย่างผม อาจเปลี่ยนใจ ก็ได้
ครับ อีก 2 ปีเจอกัน
เงินกินเปล่า
เมื่อตะกี้ อ่าน น.ส.พ. ข่าวสด ที่ บุญสอน ซื้อมาฝาก จากในเมือง
อ่าน คอลัมน์ เลขที่ 13 เขาเขียนเรื่อง เงินสงเคราะห์ ( cess )
ที่เก็บ จากผู้ส่งออกยาง ตามเลท ของ ราค่ายาง ยี่งสูง ก้ยี่งเก็บมาก
ได้เงิน ปีละ เป็นหมื่นล้านบาท นัยว่า เอามา พัฒนา เรื่องการวิจัย เรื่องยาง
ลองไปหา อ่านในรายละเอียดกัน นะครับ ปีที่แล้ว ฟันซะ 12000 ล้านบาท
แม้ว่า เงิน 85 % จะกลับไปหา เกษตรกร ผู้ปลูกยาง ก็ตาม ผมไม่เคยเห็นเงิน
จำนวนนี้ ทุกบาท ทุกสตางคื ของการลงทุน ผม ผุ้ปลุก ออกเองหมด ขนาด จะทำวิจัย
เรื่องดิน ก่อนปลูก ยังต้องไปอาศัย ม. เกษตร ที่ ชอบพอกันทำ
เงิน กินเปล่านี้ ผุ้ส่งออก ได้ ผลัก ให้เป้นภาระ ของ ผู้ทำสวนยาง ทั้งในและ
นอกระบบ
เงินกินเปล่า นี้ เหมือนกับ เงินค่าพรีเมี่ยมข้าว ที่เก็บ กับผู้ส่งออกข้าว เมื่อ
สมัย ก่อนปี 2500 แล้ว ก้ยกเลิกในที่สุด ครับ เป้นการบ้านอย่างหนึ่ง
ของชาวยาง ที่จะต้อง เอาเรื่องไปคุยกับ กระทรวง นายบรรหาร
เห็นว่า เงินจำนวนนี้ ที่เก็บค่าต๋ง เมื่อยาง ราคาเกินกว่า 100 บาทเก็บถึง 5 บาท ต่อกิโล
ทุกอย่างที่กระทรวงนี้ และรัฐบาลชุดไหน ก็ทำต่อกันมา แทบ จะปกปิด วิธีการ
เช่นนี้ กับ เกษตรกร อย่างน้ำยางสด ขณะนี้ ราคา 63 บาท ถ้าไม่มีการเก็บต๋ง
ผมจะได้ ป็น 64 บาท โดยอัตโนมัติ เงินของเกษตรกร หายไป โดยไม่รู้สาเหตุ
ผมไม่ทราบ ว่า เงิน นี้ เก็บตั้งแต่แรก จนบัดนี้ มีค่าเท่าใด คงหลายแสนล้านบาท
อาจเป็นล้าน ๆบาท ก็ได้ ใช้จ่ายไปอย่างไร อำนาจการจ่าย เป็นของใคร
นี่คือ สี่งที่รัฐบาล ปกปิด ชาวเกษตรกร มาตลอด ผมมีหน้าที่จะต้องหาความจริงวมาให้ กับ ขาวยาง
แถวบ้าน ให้รู้กัน แล้วอย่าว่า กันนะครับ
คุณยี่งลักษณ์ ครับ ขอให้ท่าน ช่วยเคลีย เรื่องนี้ ให้กระจ่างหน่อย อย่าให้ผม ต้องหาข้อมูลเองเลย
และถ้า ยกเลิกไปโดยถาวร ได้ ก็ทำเสีย มันเหมือนเหลือบ ที่เกาะกิน ชาวยาง
โดยถูก ก.ม. ยังไง ยังงั้น
แล้วข้อเรียกร้อง อีกครั้ง เอากระทรวงนี้ คืนมาจาก นายบรรหารเสีย เอามาจัดการให้โปร่งใส
ไม่งั้นแล้ว ชาวยางอย่างผม อาจเปลี่ยนใจ ก็ได้
ครับ อีก 2 ปีเจอกัน