เมื่อพิจารณาจากสภาพอันน่าทุเรศ ของนางเม็ดมะขามตนนี้แล้ว ผมเชื่อแน่ว่า ไม่ว่าจะเป็นคำเตือนใดๆ ของท่านปยุตโต
ก็คงจะไม่สามารถ "ฉุดกระชาก" สติ และ ปัญญา ของคนพวกนี้ ให้กลับคืนมาได้เลยจริงๆ ซึ่งนับว่า เป็นเวรกรรมของสัตว์โลกโดยแท้
หรือมิใช่ ?
ทั้งๆ ที่ท่านปยุตโต ก็ได้เตือนเอาไว้แล้วว่า .......
บางคนไปอ่านหนังสือของท่าน "บางส่วนบางเล่ม" เห็นข้อความบางอย่าง
ก็จับเอาไปว่า ท่านคิดเห็นอย่างนั้น ถ้าเราไม่รู้ความเป็นมาเลย ฯลฯ
(๑) ก็เท่ากับ การมองไปตามความคิดความรู้สึกของตัวเอง
(๒) เท่ากับ การตีความตามที่ตัวเองต้องการ
ท่านปยุตโต ได้เตือนเอาไว้แล้วอย่างนี้ ไม่ทราบว่า มันได้ซึมเข้ากะโหลกกะลาของพวกเม็ดมะขาม บ้างหรือไม่ครับ ?
หรือว่าเดี๋ยวนี้ พวกเม็ดมะขาม ไม่ฟังคำสอนของท่านปยุตโต เสียแล้ว (คริคริ)
เรื่อง อุบาทว์ นี้ เริ่มต้นมาจากการที่ นางเม็ดมะขามปากเน่า พยายามจะปรามาสท่านพุทธทาส ว่าท่านกล่าวตู่พระพุทธเจ้า
กล่าวคือไม่เชื่อเรื่องนรกสวรรค์ ฯลฯ โดยยกพระบาลี อัจฉริยอัพภูธัมมสูตร ขึ้นอ้างว่า พระพุทธเจ้ายังตรัสเรื่องนรกสวรรค์เลย
ทั้งๆ ที่ในอันที่จริงแล้ว พระบาลี อัจฉริยอัพภูธัมมสูตร ก็ปรากฏอยู่ในตำรา พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ ของท่านพุทธทาส นั่นแหละ
จะด้วยความ "หงายเงิบ" แล้วต้องการจะ "แก้หน้า" หรืออะไรก็แล้วแต่ นางเม็ดมะขามปากเน่าผู้นี้
ก็ได้แสดง "ความโง่" ซ้ำซากขึ้นมาอีก โดยการ "สรุปความ" เอาเองตามใจชอบว่า ฟุตโน๊ต ที่ปรากฏอยู่ในตำราเล่มนั้น
เป็นเหตุที่ทำให้สามารถสรุปได้ว่า ท่านพุทธทาสไม่เชื่อนรกสวรรค์ !
ประเด็นที่ท่านทั้งหลายพึงพิจารณา ก็คือ การสรุปของนางเม็ดมะขามปากเน่าผู้นี้ จะเป็นการสรุปจากข้อเท็จจริง จริงๆ
หรือว่าเป็นเพียงแค่ การตีความไปตาม "ความคิด" ที่ตัวเองต้องการ สมดังคำของท่านปยุตโต กันแน่ ?
*********************************************************************************************
ประเด็นที่ ๑
ก่อนที่จะมีข้อสรุปใดๆ ก็ตาม เราควรทำตามคำแนะนำของท่านปยุตโตเสียก่อน กล่าวคือ การสืบค้น "แนวคิดพื้นฐาน"
อันเป็นที่มาของ ข้อความ หรือ ตำรา เล่มนั้นๆ ซึ่งวิธีการที่ง่ายที่สุด ก็คือ การพิจารณาจาก คำนำ ของตำราเล่มดังกล่าวนั่นเอง
ผมยังหวังอยู่นะครับว่า นางเม็ดมะขามปากเน่าผู้นี้ จะอ่าน "คำนำ" ของหนังสือทุกเล่ม ที่มันนำมาวิจารณ์ (หรือไม่อ่าน?)
น่าแปลกใจเป็นอย่างยิ่งที่พบว่า ข้อความที่ระบุถึง "ใจความสำคัญ" ของหนังสือเล่มนี้ ที่ปรากฏอยู่ก่อน "คำนำ" เสียอีก
ได้ระบุเอาไว้อย่างชัดเจนมากว่า หนังสือ พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ มีตุดมุ่งหมายที่สำคัญคือ ........
มุ่งแสดงหลักธรรมที่แนบอยู่ในพระชนม์ชีพของพระองค์ โดยที่มิได้มุ่งแสดงไปในทางตำนานประวัติ หรือ นิยายประวัติ !
ชัดเจนไหมครับ ?
ส่วนในเรื่องที่เกี่ยวกับ ปาฏิหาริย์ต่างๆ โดยเฉพาะประเด็นเรื่อง ดุสิต นั้น ท่านพุทธทาสก็ได้อธิบายว่า
(๑) ข้อความในส่วนนี้ นับว่า "น้อยมาก" เมื่อเทียบกับพระบาลี พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ คือ ๘ หน้า จากทั้งหมด ๓๕๗ หน้า
(๒) ไม่จำเป็นต้องถือเอาตามตัวอักษร สามารถ "ตีความ" เป็น "ธรรมาธิษฐาน" ได้โดยง่าย
โดยในประเด็นการตีความเป็นธรรมาธิษฐานนั้น ก็ใช่ว่าจะเป็นการ "อุตริ" ทำขึ้นเล่นๆ เสียเมื่อไร
ทั้งนี้ ก็เพราะ การตีความแบบนี้ เป็นสิ่งที่นักศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นนำโดยทั่วไปเขาก็ทำกันทั้งนั้น
จนแม้แต่อรรถกถาจารย์เองก็ยังทำ ยกตัวอย่างเช่น การดำเนิน ๗ ก้าวของเจ้าชายสิทธัตถะหลังประสูติ
อรรถกถาจารย์ ตีความว่าหมายถึง ข้อปฏิบัติ ๗ ขั้นที่ทำให้คนบรรลุธรรม เป็นต้น
นั่นจึงหมายความว่า หากนางเม็ดมะขามปากเน่า เห็นว่า การตีความเป็นธรรมาธิษฐานเป็นสิ่งผิด
ก็ย่อมเท่ากับมันกล่าวว่า อรรถกถาจารย์ได้กระทำผิดไปด้วย หาใช่เป็นเพียงแค่ความผิดโดยลำพังของท่านพุทธทาสไม่
และถ้าหาก นางเม็ดมะขามเห็นว่า การตีความในกรณีดังกล่าว โดยท่านพุทธทาส
จะมีความหมายว่า ท่านไม่เชื่อเรื่องสวรรค์ชั้นดุสิต แล้วไซร้
การที่อรรถกถาจารย์ "ตีความ" เรื่อง การดำเนิน ๗ ก้าว ก็ต้องหมายความว่า
ท่านไม่เชื่อว่า พระโพธิสัตว์ จะดำเนิน ๗ ก้าวได้จริง ใช่หรือไม่ ?
ในกรณีเช่นนี้ ถ้าผิด ก็ต้องผิดทั้งคู่ ถ้าไม่ผิด ก็ต้องไม่ผิดทั้งหมด
สรุปแล้ว นางเม็ดมะขามปากเน่าเห็นว่า อรรถกถาจารย์ ทำผิด หรือไม่ครับ ?
*********************************************************************************************
ประเด็นที่ ๒
ที่จริงแล้ว การที่นางเม็ดมะขามปากเน่า กล่าวหาท่านพุทธทาส โดยการคิดเองเออเองแบบนี้ เท่ากับเป็นการพูดขัดกันเองนะครับ
ทั้งๆ ที่มันพยายามจะกล่าวหาว่าท่านพุทธทาสปฏิเสธนรกสวรรค์ แต่หลักฐานมันก็บ่งชี้อยู่ในตัวเองว่า ท่านพุทธทาส "เก็บความ"
ในส่วนที่เกี่ยวกับสวรรค์ชั้นดุสิตนี้ไว้ในตำราของท่าน เรื่องมันจึงกลายเป็นว่า ท่านพุทธทาสไม่เชื่อเรื่องนี้ แต่ท่านก็บรรจุพระบาลีส่วนนี้
เอาไว้ในตำราของตนเอง(ทั้งๆ ที่ไม่เชื่อ) อย่างนั้นหรือ ?
ที่จริงแล้ว หากท่านทั้งหลายพิจารณา ฟุตโน๊ต อย่างรอบคอบ ก็จะพบว่า
(๑) ท่านพุทธทาสเพียงแต่ตั้งข้อสังเกตด้วยความเอื้อเฟื้อต่อผู้ศึกษาว่า พระบาลีส่วนนี้
พระพุทธเจ้ามิได้ตรัสเองโดยตรง แต่เป็นคำบอกเล่าของท่านพระอานนท์อีกที
(๒) ส่วนการจะเชื่อตามตัวอักษร หรือควรตีความเป็นธรรมาธิษฐาน ท่านพุทธทาสกล่าวว่า "ขอให้วินิจฉัยกันดูเถิด"
(๓) ที่ท่านพุทธทาส "เก็บความ" เอาไว้ ก็เนื่องจาก มีอยู่ในบาลี เป็นพุทธภาษิตเหมือนกัน
แม้จะโดยอ้อมโดยผ่านทางปากของท่านพระอานนท์ อีกต่อหนึ่งก็ตาม
กล่าวโดยสรุป ก็คือ ฟุตโน๊ต ในส่วนนี้ ก็เพียงแค่ตั้งข้อสังเกต ตามความเป็นจริงของพระบาลีในส่วนนี้ว่า (๑) พระพุทธเจ้ามิได้ตรัสโดยตรงนะ
(๒) แต่เป็นการพูดโดยท่านพระอานนท์นะ และ (๓) ซึ่งแตกต่างจากพระบาลีอื่นที่เป็นพุทธประวัติจากพระโอษฐ์นะ(จ๊ะ)
อีกทั้ง ท่านพุทธทาสก็เพียงแต่ "แนะนำ" ว่า พระบาลีในส่วนนี้ ท่านทั้งหลาย จะเชื่อตามตัวอักษรทั้งหมด หรือจะตีความเป็นธรรมาธิษฐาน
นั่นก็สุดแต่ท่านทั้งหลายจะ "วินิจฉัย" กันเอาเอง ซึ่งย่อมเท่ากับว่า ท่านพุทธทาสมิได้ "ผูกขาด" ความถูกต้องเอาไว้กับตัวท่าน แต่เพียงผู้เดียว
ท่านถือว่า นั่นเป็น "วิจารณญาณ" ของผู้ศึกษาทั้งหลาย และที่สำคัญไปกว่านั้น ก็คือ การตีความเป็นธรรมาธิษฐานนี้ มิได้เป็นความ แปลกใหม่
หรือ เป็นสิ่งปลอม ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท แต่อย่างใดเลย เพราะจนแม้แต่ อรรถกถาจารย์ ก็ยังทำแบบนี้ เช่นกัน
มันจึงไม่เป็นการ "สมเหตุผล" แต่อย่างใดเลย ที่นางเม็ดมะขามปากเน่า
จะใช้ ฟุตโน๊ต นี้มาเป็นหลักฐานในการสรุปความว่า ท่านพุทธทาส ปฏิเสธนรกสวรรค์
มิเช่นนั้นแล้ว อีกหน่อย แก ก็ต้องสรุปความว่า อรรถกถาจารย์ ปฏิเสธเจ้าชายสิทธัตถะ ไปด้วยน่ะสิ !
หรือมิใช่ ?
ในอันที่จริงแล้ว ท่าที ในการศึกษาพระไตรปิฎกของท่านพุทธทาสนี้ สามารถกล่าวได้ว่า
เป็นท่าทีที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างผู้มีปัญญาอยู่แล้ว ท่านปยุตโตเอง ก็ได้กล่าวรับรองเอาไว้ว่า ท่านพุทธทาสนี้ .......
(๑) "เป็นผู้เอาจริงเอาจัง และ ซื่อสัตย์ต่อพระไตรปิฎก ไว้ใจพระไตรปิฎกมาก" ที่ว่าซื่อสัตย์ นั้นหมายถึง สามารถกล่าวได้อย่างฉาดฉานว่า
ส่วนใดพระพุทธเจ้าตรัสเอง ส่วนใดเป็นคำของพระสาวกท่านอื่น มิได้สับสนปนเปเหมือนคนทั่วๆ ไป
(๒) พร้อมกันนั้น ท่านก็สอนให้คิดอย่างมีเหตุผล ไม่ให้เชื่องมงาย เช่นว่า อะไรที่อยู่ในพระไตรปิฎก จะต้องเชื่อไปเสียหมด !
ท่านทั้งหลายจะเห็นได้ว่า ท่าทีในการศึกษาพระไตรปิฎกของท่านพุทธทาส
มิได้เป็นปัญหาในสายตาของนักศึกษาผู้มีปัญญาด้วยกันแต่อย่างใดเลย
ไอ้ที่จะเป็นปัญหาขึ้นมาจริงๆ ก็น่าจะเฉพาะแต่ พวกเม็ดมะขามปัญญาอ่อน เท่านั้นกระมัง
ท่านปยุตโต อุตส่าห์ "ตักเตือน" พวกที่ชอบวิจารณ์พระ เอาไว้ ก็ด้วยความหวังดี นะครับ
นางเม็ดมะขามปากเน่า และพวก จะไม่ยอมรับฟังคำสอนของท่านบ้างเลย ละหรือ ?
วันๆ ก็คิดแต่จะ "ด่าพระ" เพื่อสนอง "กิเลสตัณหา" ส่วนตนอย่างไม่ลืมหูลืมตา
พอหงายเงิบ เพราะจุดไต้ตำตอขึ้นมา ก็ยังอุตส่าห์ "แถกแถ" อย่างโง่ๆ ซ้ำเข้าไปอีก
นางเม็ดมะขามปากเน่าและพวก คงเข้าใจ(ผิด)ไปว่า การด่าพระ จะได้บุญ(นอกศาสนา!)มาก หละสิ
เฮอะ เฮอะ ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
คำเตือน ที่ไม่น่ารับฟัง ของท่านปยุตโต (?)
ก็คงจะไม่สามารถ "ฉุดกระชาก" สติ และ ปัญญา ของคนพวกนี้ ให้กลับคืนมาได้เลยจริงๆ ซึ่งนับว่า เป็นเวรกรรมของสัตว์โลกโดยแท้
หรือมิใช่ ?
ทั้งๆ ที่ท่านปยุตโต ก็ได้เตือนเอาไว้แล้วว่า .......
บางคนไปอ่านหนังสือของท่าน "บางส่วนบางเล่ม" เห็นข้อความบางอย่าง
ก็จับเอาไปว่า ท่านคิดเห็นอย่างนั้น ถ้าเราไม่รู้ความเป็นมาเลย ฯลฯ
(๑) ก็เท่ากับ การมองไปตามความคิดความรู้สึกของตัวเอง
(๒) เท่ากับ การตีความตามที่ตัวเองต้องการ
ท่านปยุตโต ได้เตือนเอาไว้แล้วอย่างนี้ ไม่ทราบว่า มันได้ซึมเข้ากะโหลกกะลาของพวกเม็ดมะขาม บ้างหรือไม่ครับ ?
หรือว่าเดี๋ยวนี้ พวกเม็ดมะขาม ไม่ฟังคำสอนของท่านปยุตโต เสียแล้ว (คริคริ)
เรื่อง อุบาทว์ นี้ เริ่มต้นมาจากการที่ นางเม็ดมะขามปากเน่า พยายามจะปรามาสท่านพุทธทาส ว่าท่านกล่าวตู่พระพุทธเจ้า
กล่าวคือไม่เชื่อเรื่องนรกสวรรค์ ฯลฯ โดยยกพระบาลี อัจฉริยอัพภูธัมมสูตร ขึ้นอ้างว่า พระพุทธเจ้ายังตรัสเรื่องนรกสวรรค์เลย
ทั้งๆ ที่ในอันที่จริงแล้ว พระบาลี อัจฉริยอัพภูธัมมสูตร ก็ปรากฏอยู่ในตำรา พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ ของท่านพุทธทาส นั่นแหละ
จะด้วยความ "หงายเงิบ" แล้วต้องการจะ "แก้หน้า" หรืออะไรก็แล้วแต่ นางเม็ดมะขามปากเน่าผู้นี้
ก็ได้แสดง "ความโง่" ซ้ำซากขึ้นมาอีก โดยการ "สรุปความ" เอาเองตามใจชอบว่า ฟุตโน๊ต ที่ปรากฏอยู่ในตำราเล่มนั้น
เป็นเหตุที่ทำให้สามารถสรุปได้ว่า ท่านพุทธทาสไม่เชื่อนรกสวรรค์ !
ประเด็นที่ท่านทั้งหลายพึงพิจารณา ก็คือ การสรุปของนางเม็ดมะขามปากเน่าผู้นี้ จะเป็นการสรุปจากข้อเท็จจริง จริงๆ
หรือว่าเป็นเพียงแค่ การตีความไปตาม "ความคิด" ที่ตัวเองต้องการ สมดังคำของท่านปยุตโต กันแน่ ?
*********************************************************************************************
ประเด็นที่ ๑
ก่อนที่จะมีข้อสรุปใดๆ ก็ตาม เราควรทำตามคำแนะนำของท่านปยุตโตเสียก่อน กล่าวคือ การสืบค้น "แนวคิดพื้นฐาน"
อันเป็นที่มาของ ข้อความ หรือ ตำรา เล่มนั้นๆ ซึ่งวิธีการที่ง่ายที่สุด ก็คือ การพิจารณาจาก คำนำ ของตำราเล่มดังกล่าวนั่นเอง
ผมยังหวังอยู่นะครับว่า นางเม็ดมะขามปากเน่าผู้นี้ จะอ่าน "คำนำ" ของหนังสือทุกเล่ม ที่มันนำมาวิจารณ์ (หรือไม่อ่าน?)
น่าแปลกใจเป็นอย่างยิ่งที่พบว่า ข้อความที่ระบุถึง "ใจความสำคัญ" ของหนังสือเล่มนี้ ที่ปรากฏอยู่ก่อน "คำนำ" เสียอีก
ได้ระบุเอาไว้อย่างชัดเจนมากว่า หนังสือ พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ มีตุดมุ่งหมายที่สำคัญคือ ........
มุ่งแสดงหลักธรรมที่แนบอยู่ในพระชนม์ชีพของพระองค์ โดยที่มิได้มุ่งแสดงไปในทางตำนานประวัติ หรือ นิยายประวัติ !
ชัดเจนไหมครับ ?
ส่วนในเรื่องที่เกี่ยวกับ ปาฏิหาริย์ต่างๆ โดยเฉพาะประเด็นเรื่อง ดุสิต นั้น ท่านพุทธทาสก็ได้อธิบายว่า
(๑) ข้อความในส่วนนี้ นับว่า "น้อยมาก" เมื่อเทียบกับพระบาลี พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ คือ ๘ หน้า จากทั้งหมด ๓๕๗ หน้า
(๒) ไม่จำเป็นต้องถือเอาตามตัวอักษร สามารถ "ตีความ" เป็น "ธรรมาธิษฐาน" ได้โดยง่าย
โดยในประเด็นการตีความเป็นธรรมาธิษฐานนั้น ก็ใช่ว่าจะเป็นการ "อุตริ" ทำขึ้นเล่นๆ เสียเมื่อไร
ทั้งนี้ ก็เพราะ การตีความแบบนี้ เป็นสิ่งที่นักศึกษาพระพุทธศาสนาชั้นนำโดยทั่วไปเขาก็ทำกันทั้งนั้น
จนแม้แต่อรรถกถาจารย์เองก็ยังทำ ยกตัวอย่างเช่น การดำเนิน ๗ ก้าวของเจ้าชายสิทธัตถะหลังประสูติ
อรรถกถาจารย์ ตีความว่าหมายถึง ข้อปฏิบัติ ๗ ขั้นที่ทำให้คนบรรลุธรรม เป็นต้น
นั่นจึงหมายความว่า หากนางเม็ดมะขามปากเน่า เห็นว่า การตีความเป็นธรรมาธิษฐานเป็นสิ่งผิด
ก็ย่อมเท่ากับมันกล่าวว่า อรรถกถาจารย์ได้กระทำผิดไปด้วย หาใช่เป็นเพียงแค่ความผิดโดยลำพังของท่านพุทธทาสไม่
และถ้าหาก นางเม็ดมะขามเห็นว่า การตีความในกรณีดังกล่าว โดยท่านพุทธทาส
จะมีความหมายว่า ท่านไม่เชื่อเรื่องสวรรค์ชั้นดุสิต แล้วไซร้
การที่อรรถกถาจารย์ "ตีความ" เรื่อง การดำเนิน ๗ ก้าว ก็ต้องหมายความว่า
ท่านไม่เชื่อว่า พระโพธิสัตว์ จะดำเนิน ๗ ก้าวได้จริง ใช่หรือไม่ ?
ในกรณีเช่นนี้ ถ้าผิด ก็ต้องผิดทั้งคู่ ถ้าไม่ผิด ก็ต้องไม่ผิดทั้งหมด
สรุปแล้ว นางเม็ดมะขามปากเน่าเห็นว่า อรรถกถาจารย์ ทำผิด หรือไม่ครับ ?
*********************************************************************************************
ประเด็นที่ ๒
ที่จริงแล้ว การที่นางเม็ดมะขามปากเน่า กล่าวหาท่านพุทธทาส โดยการคิดเองเออเองแบบนี้ เท่ากับเป็นการพูดขัดกันเองนะครับ
ทั้งๆ ที่มันพยายามจะกล่าวหาว่าท่านพุทธทาสปฏิเสธนรกสวรรค์ แต่หลักฐานมันก็บ่งชี้อยู่ในตัวเองว่า ท่านพุทธทาส "เก็บความ"
ในส่วนที่เกี่ยวกับสวรรค์ชั้นดุสิตนี้ไว้ในตำราของท่าน เรื่องมันจึงกลายเป็นว่า ท่านพุทธทาสไม่เชื่อเรื่องนี้ แต่ท่านก็บรรจุพระบาลีส่วนนี้
เอาไว้ในตำราของตนเอง(ทั้งๆ ที่ไม่เชื่อ) อย่างนั้นหรือ ?
ที่จริงแล้ว หากท่านทั้งหลายพิจารณา ฟุตโน๊ต อย่างรอบคอบ ก็จะพบว่า
(๑) ท่านพุทธทาสเพียงแต่ตั้งข้อสังเกตด้วยความเอื้อเฟื้อต่อผู้ศึกษาว่า พระบาลีส่วนนี้
พระพุทธเจ้ามิได้ตรัสเองโดยตรง แต่เป็นคำบอกเล่าของท่านพระอานนท์อีกที
(๒) ส่วนการจะเชื่อตามตัวอักษร หรือควรตีความเป็นธรรมาธิษฐาน ท่านพุทธทาสกล่าวว่า "ขอให้วินิจฉัยกันดูเถิด"
(๓) ที่ท่านพุทธทาส "เก็บความ" เอาไว้ ก็เนื่องจาก มีอยู่ในบาลี เป็นพุทธภาษิตเหมือนกัน
แม้จะโดยอ้อมโดยผ่านทางปากของท่านพระอานนท์ อีกต่อหนึ่งก็ตาม
กล่าวโดยสรุป ก็คือ ฟุตโน๊ต ในส่วนนี้ ก็เพียงแค่ตั้งข้อสังเกต ตามความเป็นจริงของพระบาลีในส่วนนี้ว่า (๑) พระพุทธเจ้ามิได้ตรัสโดยตรงนะ
(๒) แต่เป็นการพูดโดยท่านพระอานนท์นะ และ (๓) ซึ่งแตกต่างจากพระบาลีอื่นที่เป็นพุทธประวัติจากพระโอษฐ์นะ(จ๊ะ)
อีกทั้ง ท่านพุทธทาสก็เพียงแต่ "แนะนำ" ว่า พระบาลีในส่วนนี้ ท่านทั้งหลาย จะเชื่อตามตัวอักษรทั้งหมด หรือจะตีความเป็นธรรมาธิษฐาน
นั่นก็สุดแต่ท่านทั้งหลายจะ "วินิจฉัย" กันเอาเอง ซึ่งย่อมเท่ากับว่า ท่านพุทธทาสมิได้ "ผูกขาด" ความถูกต้องเอาไว้กับตัวท่าน แต่เพียงผู้เดียว
ท่านถือว่า นั่นเป็น "วิจารณญาณ" ของผู้ศึกษาทั้งหลาย และที่สำคัญไปกว่านั้น ก็คือ การตีความเป็นธรรมาธิษฐานนี้ มิได้เป็นความ แปลกใหม่
หรือ เป็นสิ่งปลอม ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท แต่อย่างใดเลย เพราะจนแม้แต่ อรรถกถาจารย์ ก็ยังทำแบบนี้ เช่นกัน
มันจึงไม่เป็นการ "สมเหตุผล" แต่อย่างใดเลย ที่นางเม็ดมะขามปากเน่า
จะใช้ ฟุตโน๊ต นี้มาเป็นหลักฐานในการสรุปความว่า ท่านพุทธทาส ปฏิเสธนรกสวรรค์
มิเช่นนั้นแล้ว อีกหน่อย แก ก็ต้องสรุปความว่า อรรถกถาจารย์ ปฏิเสธเจ้าชายสิทธัตถะ ไปด้วยน่ะสิ !
หรือมิใช่ ?
ในอันที่จริงแล้ว ท่าที ในการศึกษาพระไตรปิฎกของท่านพุทธทาสนี้ สามารถกล่าวได้ว่า
เป็นท่าทีที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างผู้มีปัญญาอยู่แล้ว ท่านปยุตโตเอง ก็ได้กล่าวรับรองเอาไว้ว่า ท่านพุทธทาสนี้ .......
(๑) "เป็นผู้เอาจริงเอาจัง และ ซื่อสัตย์ต่อพระไตรปิฎก ไว้ใจพระไตรปิฎกมาก" ที่ว่าซื่อสัตย์ นั้นหมายถึง สามารถกล่าวได้อย่างฉาดฉานว่า
ส่วนใดพระพุทธเจ้าตรัสเอง ส่วนใดเป็นคำของพระสาวกท่านอื่น มิได้สับสนปนเปเหมือนคนทั่วๆ ไป
(๒) พร้อมกันนั้น ท่านก็สอนให้คิดอย่างมีเหตุผล ไม่ให้เชื่องมงาย เช่นว่า อะไรที่อยู่ในพระไตรปิฎก จะต้องเชื่อไปเสียหมด !
ท่านทั้งหลายจะเห็นได้ว่า ท่าทีในการศึกษาพระไตรปิฎกของท่านพุทธทาส
มิได้เป็นปัญหาในสายตาของนักศึกษาผู้มีปัญญาด้วยกันแต่อย่างใดเลย
ไอ้ที่จะเป็นปัญหาขึ้นมาจริงๆ ก็น่าจะเฉพาะแต่ พวกเม็ดมะขามปัญญาอ่อน เท่านั้นกระมัง
ท่านปยุตโต อุตส่าห์ "ตักเตือน" พวกที่ชอบวิจารณ์พระ เอาไว้ ก็ด้วยความหวังดี นะครับ
นางเม็ดมะขามปากเน่า และพวก จะไม่ยอมรับฟังคำสอนของท่านบ้างเลย ละหรือ ?
วันๆ ก็คิดแต่จะ "ด่าพระ" เพื่อสนอง "กิเลสตัณหา" ส่วนตนอย่างไม่ลืมหูลืมตา
พอหงายเงิบ เพราะจุดไต้ตำตอขึ้นมา ก็ยังอุตส่าห์ "แถกแถ" อย่างโง่ๆ ซ้ำเข้าไปอีก
นางเม็ดมะขามปากเน่าและพวก คงเข้าใจ(ผิด)ไปว่า การด่าพระ จะได้บุญ(นอกศาสนา!)มาก หละสิ
เฮอะ เฮอะ ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ