ได้ยินตอนที่เจ้าสัวถูกสัมภาษณ์ด้วยคุณสรยุทธ ประมาณว่าต้องขึ้นค่าแรง และเมื่อขึ้นค่าแรงแล้วประชาชนมีกำลังซื้อ เศรษฐกิจก็จะดี
ตอนนั้นผมฟังแล้วก็รู้สึกปลาบปลื้มยินดีที่ เราจะได้อยู่ดีกินดีกันมากขึ้น จะมีการเพิ่มค่าแรงทำให้เรารวยขึ้น แต่ไม่ได้คิดไปว่าเมื่อค่าแรงขึ้นค่าของก็จะแพงขึ้นด้วย
ถึงตอนนี้ค่าแรงขึ้นของกลับแพงกว่าแต่ผมคิดว่าทฤษฎีนี้ก็น่าจะเป็นจริงอยู่ เพียงแต่ว่าเราเข้าใจผิดไป ค่าแรงไม่ใช่ว่าจะขึ้นก็ไปขึ้นมันเฉยๆได้ เราต้องเพิ่มศักยภาพของเราก่อนเพื่อให้ผลิตของได้มากขึ้น สินค้าคุณภาพดีขึ้น ต้นทุนต่ำลง มีกำไรมากขึ้น เมื่อเรามีกำไรมากขึ้นก่อนแล้วจึงขึ้นค่าแรงได้
และเมื่อมีค่าแรงเพิ่มขึ้นจึงนำไปใช้จ่าย เพื่อให้เศรษฐกิจดีขึ้น
เช่น
นาย ก ได้ค่าแรง 250 บาท ผลิตสินค้า A ได้ 15ชิ้นต่อวันขายได้กำไรชิ้นละ 20 บาท เท่ากับว่ากำไร 300บาท
แต่นาย ข ได้ค่าแรง 500 บาทผลิตได้ 30 ชิ้นต่อวัน ขายราคาได้กำไรชิ้นละ 20 บาท เท่ากับว่ากำไร 600 บาท
นายจ้างก็ยังกำไรจากการจ้างนาย ข มากกว่านาย ก 50 บาท ต่อวัน
ดังนั้นแล้ว เป็นใครๆก็คงจ้างนาย ข แหละครับ
สรุปคือ 1 ศักยภาพสูง 2 ผลผลิตสูง 3 ค่าแรงสูง
เป๊ะ
ทฤษฎีสองสูงแบบที่ผมเข้าใจ
ตอนนั้นผมฟังแล้วก็รู้สึกปลาบปลื้มยินดีที่ เราจะได้อยู่ดีกินดีกันมากขึ้น จะมีการเพิ่มค่าแรงทำให้เรารวยขึ้น แต่ไม่ได้คิดไปว่าเมื่อค่าแรงขึ้นค่าของก็จะแพงขึ้นด้วย
ถึงตอนนี้ค่าแรงขึ้นของกลับแพงกว่าแต่ผมคิดว่าทฤษฎีนี้ก็น่าจะเป็นจริงอยู่ เพียงแต่ว่าเราเข้าใจผิดไป ค่าแรงไม่ใช่ว่าจะขึ้นก็ไปขึ้นมันเฉยๆได้ เราต้องเพิ่มศักยภาพของเราก่อนเพื่อให้ผลิตของได้มากขึ้น สินค้าคุณภาพดีขึ้น ต้นทุนต่ำลง มีกำไรมากขึ้น เมื่อเรามีกำไรมากขึ้นก่อนแล้วจึงขึ้นค่าแรงได้
และเมื่อมีค่าแรงเพิ่มขึ้นจึงนำไปใช้จ่าย เพื่อให้เศรษฐกิจดีขึ้น
เช่น
นาย ก ได้ค่าแรง 250 บาท ผลิตสินค้า A ได้ 15ชิ้นต่อวันขายได้กำไรชิ้นละ 20 บาท เท่ากับว่ากำไร 300บาท
แต่นาย ข ได้ค่าแรง 500 บาทผลิตได้ 30 ชิ้นต่อวัน ขายราคาได้กำไรชิ้นละ 20 บาท เท่ากับว่ากำไร 600 บาท
นายจ้างก็ยังกำไรจากการจ้างนาย ข มากกว่านาย ก 50 บาท ต่อวัน
ดังนั้นแล้ว เป็นใครๆก็คงจ้างนาย ข แหละครับ
สรุปคือ 1 ศักยภาพสูง 2 ผลผลิตสูง 3 ค่าแรงสูง
เป๊ะ