สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 5
เนื่องจากเชื้อไวรัส เดงกี มี สี่ สายพันธุ์ ทฤษฏี ที่อธิบายว่าทำไมการติดเชื้อครั้งที่ สองนั้นจะรุนแรงกว่าครั้งแรก อธิบาย อย่าง ง่ายๆนะครับ
สมมุติว่า เมื่อติดครั้งแรก ติด เชื้อไวรัสเดงกีแบบ A เมื่อ เข้าไปในร่างกาย ร่างกายจะสร้าง ภูมิคุ้มกันที่เรียกว่า antibody ขึ้นมา ซึ่ง antibody เอง จะมีความจำเพาะ อย่างมากต่อเชื้อ ไวรัส แต่ละชนิด เมื่อสามารถ จัดการ กับ ไวรัส ในการติดเชื้อครั้งแรกแล้ว (โดยผู้ติดก็จะมีอาการไม่รุนแรงมาก) ระดับ antibody ต่อ เดงกี A ก็จะลดลง แต่ร่างกายจะมีการจำ รูปแบบเชื้อไวรัสไว้แล้ว เมื่อเชื้อนี้ เข้าสู่ร่างกายคราวหน้า ร่างกายจะสามารถ สร้าง antibody มาต่อสู้ได้อย่างรวดเร็วกว่าการติดเชื้อครั้งแรก ดังนั้น เราจะมีภูมิคุ้มกัน เดงกี A ไปตลอดชีวิต หากติดใหม่ก็จะมีอาการคล้ายๆไข้หวัดใหญ่ ทั่วไป
แต่ เนื่องจาก เชื้อ ไวรัส เดงกี มี สี่แบบ โดยมีโครงสร้างที่คล้ายกัน แต่ไม่เหมือนกัน ซะทีเดียว ทำให้ถ้าการติดเชื้อครั้ง ต่อไป ไม่ใช่ เดงกี A แต่เป็นพันธุ์อื่น ร่างกายจะนึกว่า คุณติดเชื้อ เดงกี A แล้วรีบสร้าง antibody ขึ้นมามากมาย แต่ เนื่องจาก เชื้อไม่ใช่ สายพันธุ์ A ทำให้ antibody ไม่สามารถไป จับกับตัวไวรัส ( นึกถึง แม่กุญแจ กับลูกกุญแจ ที่ไม่ตรงกัน) ทำให้ไม่สามารถทำลาย ไวรัสได้ ร่างกายก็จะยิ่งพยายามสร้าง antibody ขึ้นมามากขึ้น มากขึ้น แต่ สารเคมีที่ antibody สร้างขึ้นมานั้น ไม่ได้มีผลแต่กับ ไวรัส แต่ยังสามารถ ทำให้เกิด การเสียสมดุลย์ ของเซลล์ อื่นๆในร่างกายด้วย ที่อันตรายคือ ทำให้ช่องว่างระหว่างเซลล์ผนังหลอดเลือดขยาย ทำให้ เม็ดเลือดและพราสมา ออกไปสู่เนื้อเยื่อภายนอก หลอดเลือด ทำให้เกิด ภาวะ ช็อค ปอดบวม ฯลฯ ที่ทำให้เสียชีวิตได้
สมมุติว่า เมื่อติดครั้งแรก ติด เชื้อไวรัสเดงกีแบบ A เมื่อ เข้าไปในร่างกาย ร่างกายจะสร้าง ภูมิคุ้มกันที่เรียกว่า antibody ขึ้นมา ซึ่ง antibody เอง จะมีความจำเพาะ อย่างมากต่อเชื้อ ไวรัส แต่ละชนิด เมื่อสามารถ จัดการ กับ ไวรัส ในการติดเชื้อครั้งแรกแล้ว (โดยผู้ติดก็จะมีอาการไม่รุนแรงมาก) ระดับ antibody ต่อ เดงกี A ก็จะลดลง แต่ร่างกายจะมีการจำ รูปแบบเชื้อไวรัสไว้แล้ว เมื่อเชื้อนี้ เข้าสู่ร่างกายคราวหน้า ร่างกายจะสามารถ สร้าง antibody มาต่อสู้ได้อย่างรวดเร็วกว่าการติดเชื้อครั้งแรก ดังนั้น เราจะมีภูมิคุ้มกัน เดงกี A ไปตลอดชีวิต หากติดใหม่ก็จะมีอาการคล้ายๆไข้หวัดใหญ่ ทั่วไป
แต่ เนื่องจาก เชื้อ ไวรัส เดงกี มี สี่แบบ โดยมีโครงสร้างที่คล้ายกัน แต่ไม่เหมือนกัน ซะทีเดียว ทำให้ถ้าการติดเชื้อครั้ง ต่อไป ไม่ใช่ เดงกี A แต่เป็นพันธุ์อื่น ร่างกายจะนึกว่า คุณติดเชื้อ เดงกี A แล้วรีบสร้าง antibody ขึ้นมามากมาย แต่ เนื่องจาก เชื้อไม่ใช่ สายพันธุ์ A ทำให้ antibody ไม่สามารถไป จับกับตัวไวรัส ( นึกถึง แม่กุญแจ กับลูกกุญแจ ที่ไม่ตรงกัน) ทำให้ไม่สามารถทำลาย ไวรัสได้ ร่างกายก็จะยิ่งพยายามสร้าง antibody ขึ้นมามากขึ้น มากขึ้น แต่ สารเคมีที่ antibody สร้างขึ้นมานั้น ไม่ได้มีผลแต่กับ ไวรัส แต่ยังสามารถ ทำให้เกิด การเสียสมดุลย์ ของเซลล์ อื่นๆในร่างกายด้วย ที่อันตรายคือ ทำให้ช่องว่างระหว่างเซลล์ผนังหลอดเลือดขยาย ทำให้ เม็ดเลือดและพราสมา ออกไปสู่เนื้อเยื่อภายนอก หลอดเลือด ทำให้เกิด ภาวะ ช็อค ปอดบวม ฯลฯ ที่ทำให้เสียชีวิตได้
แสดงความคิดเห็น
ทำไมไข้เลือดออกติดเชื้อครั้งที่2 ถึงรุนแรงกว่าครั้งแรก?