จิตไม่เศร้าหมอง (จิตประภัสสร) - กิเลสจรมา (อุปกิเลส ทำให้เข้าถึงความเศร้าหมอง) ----> จรมาจาก?

ตามประเด็น ยิ้ม

หมายเหตุ
พระสูตร ที่มาของคำว่า จิต - ประภัสสร "หนึ่ง"

(๑)
ความรู้ที่ทำให้มีการอบรมจิต <--------------------------------------------------------------------  สรุปพระสูตรข้างล่างไว้
เอก อํ ๒๐/๑๑-๑๒/๕๒-๕๓  (สำนวนแปล - อริยสัจจากพระโอษฐ์ หน้า ๑๓๑๐ - พุทธทาสภิกขุ


ภิกษุทั้งหลาย
จิตนี้ เป็นธรรมชาติไม่เข้าถึงความเศร้าหมองจึงมีอาการผุดผ่อง  ---------------------------------- ตีความเพิ่มจาก จำนวนแปลที่วงเล็บ (แบบ เซนเถรวาทปฐมสังคายนานิยม)
(ภิกษุ ท! จิตนี้ เป็นธรรมชาติประภัสสร) ---------------------------------------------------------  ท่านพุทธทาสแปล

แต่จิต (ที่มีธรรมชาติประภัสสร) นั้นแล
เข้าถึงความเศร้าหมองแล้ว ---------------------------------------------------------------------- "อาการ" คือ เข้าถึง หรือ เข้าสู่ ภาวะ ไม่ประภัสสร คือเศร้าหมอง  นั่นเอง
เพราะอุปกิเลส ---------------------------------------------------------------------------------- "คำว่า อุปกิเลส"  ทรง ชี้ที่ธรรม ?  
                                                                                                                            (ดู อุปกิเลสสูตร และหรือ จูฬทุกขันธสูตรประกอบฯ)
อันเป็นอาคันตุกะจรมา --------------------------------------------------------------------------- "อาการ" ที่ แขกมาเยือน (อาคันตุกะจรมา)  
                                                                                                                             ทรงกระทำอุปมา กับ "จิตนี้ประภัสสร" ใช่  หรือ  ไม่?

เรากล่าวว่า
ปุถุชนผู้ไม่มีการสดับ ---------------------------------------------------------------------------- สมัยนั้น ยังไม่มีพระไตรปิฎก / วิสุทธิมัคค์ / อภิธัมมัตถสังคหะ / ฯลฯ
ย่อมไม่รู้ชัดตามที่เป็นจริง ----------------------------------------------------------------------- ปุถุชนสมัยนี้ "ที่ดูจิตนิยม"   รู้ชัดมั๊ย?
ซึ่งความจริงข้อนี้ -------------------------------------------------------------------------------- ตามที่ตรัส
                                                                                                                           (ไม่ตรัส ถิรสัญญา คือ เหตุใกล้ของสติฯ ถิรสัญญาของปุถุชนจึงฯลฯ)  

เพราะเหตุนั้น

จิตตภาวนา -------------------------------------------------------------------------------------- โพธิปักขิยธรรม ๓๗ (ไม่ตรัสคำว่า ดูจิต / คำว่า ฯลฯ)
ย่อมไม่มีแก่ปุถุชน ------------------------------------------------------------------------------ ปุถุชน ไม่ว่าจะ "นุ่งขาว" หรือ ฯลฯ  ใช่มั๊ย
ผู้ไม่มีการสดับ ---------------------------------------------------------------------------------- ตามพระสูตรที่ตรัสไว้ ที่พระเถรครั้งปฐมสังคายนาท่านอมแล้วบ้วน (มุขปาฐะ)ฯ

ดังนี้ --------------------------------------------------------------------------------------------- ใคร ค้าน  พระสูตรจากพระโอษฐ์  นี้ (สำนวนแปลไม่เกี่ยว)



จบความนำ
-----------

ตามประเด็น
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่