คือผมอยากจะทำน้ำจิ้มสุกี้ ทีนี้ลองค้นหาศึกษาข้อมูลแล้วพบว่าสุกี้เนี่ยมีหลายตำรับเหลือเกิน ในข้อมูลที่หามาก็มเป็นแบบรวมกว้างๆหาจุดเด่นยาก โดยแต่ละที่นั้นแตกต่างกันไปแต่ก็มีจุดร่วมที่เหมือนกันบ้าง น้ำจิ้มแบบกวางตุ้งงมีซอสพริกเป็นหลักไม่ใช้เต้าหู้ยี้ แบบไหหลำมีเต้าหู้ยี้และน้ำมันงา ซึ่งแบบแต้จิ๋วก็มีเต้าหู้ยี้แต่มีกระเทียมดองด้วย แบบเสฉวนก็จิ้มกับน้ำมันงา ส่วนญี่ปุ่นนี่โดดเด่นแตกต่างชัดเจน(ความรู้เท่าที่ผมศึกษานะครับไม่มีประสบการณ์)
จึงอยากถามทุกท่านว่า สุกี้โดยเฉพาะน้ำจิ้ม ของแต่ละที่นั้นมีอะไรที่โดดเด่นออกมาจนเป็นจุดเด่นเฉพาะตัวบ้างครับ ช่วยร่วมออกความเห็นกันทั้งผู้ชื่นชอบทานสุกี้-ผู้รู้-กูรู-แม่บ้านพ่อครัว-เชฟหม้อเหล็ก-กุ๊กเทวดา-นักชิมทั้งหลายที่เคยไปลองถึงที่ถิ่นตำรับ แบบญี่ปุ่นด้วยก็ได้ มาแชร์กันครับ
ป.ล.และที่ว่าบางสูตรที่เรากินเป็นสูตรแบบจีนนั้นจีนนี้ บางคนก็ว่าเป็นแบบที่ไทยเราคิดเองแต่ดันไปอ้างอิงให้เครดิตเค้าไป นี่จริงๆแล้วมันเป็นอย่างไรครับ
[[[สุกี้- -สุกี้- -สุกี้- -ซูกิยากิ]]] ตำรับกวางตุ้ง-แต้จิ๋ว-ไหหลำ-เสฉวน-กุ้ยหลิน ฯลฯ มีจุดเด่นเฉพาะตัวต่างกันอย่างไร
จึงอยากถามทุกท่านว่า สุกี้โดยเฉพาะน้ำจิ้ม ของแต่ละที่นั้นมีอะไรที่โดดเด่นออกมาจนเป็นจุดเด่นเฉพาะตัวบ้างครับ ช่วยร่วมออกความเห็นกันทั้งผู้ชื่นชอบทานสุกี้-ผู้รู้-กูรู-แม่บ้านพ่อครัว-เชฟหม้อเหล็ก-กุ๊กเทวดา-นักชิมทั้งหลายที่เคยไปลองถึงที่ถิ่นตำรับ แบบญี่ปุ่นด้วยก็ได้ มาแชร์กันครับ
ป.ล.และที่ว่าบางสูตรที่เรากินเป็นสูตรแบบจีนนั้นจีนนี้ บางคนก็ว่าเป็นแบบที่ไทยเราคิดเองแต่ดันไปอ้างอิงให้เครดิตเค้าไป นี่จริงๆแล้วมันเป็นอย่างไรครับ