พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒
อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๔. มโนทุจริตสูตร
[๒๔๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย โทษในเพราะมโนทุจริต ๕ ประการนี้๕ ประการเป็นไฉน คือ
แม้ตนเองย่อมติเตียนตนได้ ๑
วิญญูชนพิจารณาแล้วย่อมติเตียน ๑
กิติศัพท์ที่ชั่วย่อมฟุ้งไป ๑
ย่อมเป็นผู้หลงกระทำกาละ(ตาย) ๑
เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย โทษในเพราะมโนทุจริต ๕ ประการนี้แล ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในเพราะมโนสุจริต ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน คือ
แม้ตนเองย่อมไม่ติเตียนตนได้ ๑
วิญญูชนพิจารณาแล้วย่อมสรรเสริญ ๑
กิติศัพท์อันงามย่อมฟุ้งไป ๑
ย่อมไม่เป็นผู้หลงกระทำกาละ ๑
เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในเพราะมโนสุจริต ๕ ประการนี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๔
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ บรรทัดที่ ๖๓๐๐ - ๖๓๑๑. หน้าที่ ๒๗๖ - ๒๗๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=22&A=6300&Z=6311&pagebreak=0
***********************************************
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔
อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๘. อปรมโนทุจริตสูตร
[๒๔๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย โทษในเพราะมโนทุจริต ๕ ประการนี้๕ ประการเป็นไฉน คือ
แม้ตนเองย่อมติเตียนตนได้ ๑
วิญญูชนพิจารณาแล้วย่อมติเตียน ๑
กิติศัพท์ที่ชั่วย่อมฟุ้งไป ๑
ย่อมเสื่อมจากสัทธรรม ๑
ย่อมตั้งอยู่ในอสัทธรรม ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย โทษในเพราะมโนทุจริต ๕ ประการนี้แล ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในเพราะมโนสุจริต ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน คือ
แม้ตนเองย่อมไม่ติเตียนตนได้ ๑
วิญญูชนพิจารณาแล้วย่อมสรรเสริญ ๑
กิติศัพท์อันงามย่อมฟุ้งไป ๑
ย่อมเสื่อมจากอสัทธรรม ๑
ย่อมตั้งอยู่ในสัทธรรม ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในเพราะมโนสุจริต ๕ ประการนี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๘
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ บรรทัดที่ ๖๓๓๐ - ๖๓๔๐. หน้าที่ ๒๗๘.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=22&A=6330&Z=6340&pagebreak=0
"มโนทุจริต" แค่คิดไม่ดี ก็บาปกรรม
อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๔. มโนทุจริตสูตร
[๒๔๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย โทษในเพราะมโนทุจริต ๕ ประการนี้๕ ประการเป็นไฉน คือ
แม้ตนเองย่อมติเตียนตนได้ ๑
วิญญูชนพิจารณาแล้วย่อมติเตียน ๑
กิติศัพท์ที่ชั่วย่อมฟุ้งไป ๑
ย่อมเป็นผู้หลงกระทำกาละ(ตาย) ๑
เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย โทษในเพราะมโนทุจริต ๕ ประการนี้แล ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในเพราะมโนสุจริต ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน คือ
แม้ตนเองย่อมไม่ติเตียนตนได้ ๑
วิญญูชนพิจารณาแล้วย่อมสรรเสริญ ๑
กิติศัพท์อันงามย่อมฟุ้งไป ๑
ย่อมไม่เป็นผู้หลงกระทำกาละ ๑
เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในเพราะมโนสุจริต ๕ ประการนี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๔
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ บรรทัดที่ ๖๓๐๐ - ๖๓๑๑. หน้าที่ ๒๗๖ - ๒๗๗.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=22&A=6300&Z=6311&pagebreak=0
***********************************************
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔
อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๘. อปรมโนทุจริตสูตร
[๒๔๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย โทษในเพราะมโนทุจริต ๕ ประการนี้๕ ประการเป็นไฉน คือ
แม้ตนเองย่อมติเตียนตนได้ ๑
วิญญูชนพิจารณาแล้วย่อมติเตียน ๑
กิติศัพท์ที่ชั่วย่อมฟุ้งไป ๑
ย่อมเสื่อมจากสัทธรรม ๑
ย่อมตั้งอยู่ในอสัทธรรม ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย โทษในเพราะมโนทุจริต ๕ ประการนี้แล ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในเพราะมโนสุจริต ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน คือ
แม้ตนเองย่อมไม่ติเตียนตนได้ ๑
วิญญูชนพิจารณาแล้วย่อมสรรเสริญ ๑
กิติศัพท์อันงามย่อมฟุ้งไป ๑
ย่อมเสื่อมจากอสัทธรรม ๑
ย่อมตั้งอยู่ในสัทธรรม ๑
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ในเพราะมโนสุจริต ๕ ประการนี้แล ฯ
จบสูตรที่ ๘
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๒ บรรทัดที่ ๖๓๓๐ - ๖๓๔๐. หน้าที่ ๒๗๘.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=22&A=6330&Z=6340&pagebreak=0