บทบาท ท่าที ของ วีรชัย พลาศรัย ต่อ นพดล ปัทมะ
ทั้งๆ ที่
มีความพยายามปลุกกระแสโดย
แยก นายวีรชัย พลาศรัย ออกจากรัฐบาล ออกจากนักการเมืองอย่างเต็มเรี่ยวแรง
ถึงขนาดยกให้เป็นพระเอกแต่เพียงผู้เดียว
ถึงขนาด
สร้างเรื่องและขยายให้กลายเป็นความขัดแย้งระหว่าง นายนพดล ปัทมะ กับ นายวีรชัย พลาศรัย ตั้งแต่สมัยรัฐบาล นายสมัคร สุนทรเวชและต่อเนื่องมาถึงรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
โดย
พยายามโดดเดี่ยว นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
พล.อ.อ.สุกำพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ออกจากทีมทนายความอันมี นายวีรชัย พลาศรัย เป็นหัวหน้า เสมือนว่า 3 คนนั้นแทบไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในทางอันเป็นคุณประโยชน์อะไรเลย
ในที่สุดก็ไม่สำเร็จ
นั่นก็
สัมผัสได้จากคำยืนยันของ นายวีรชัย พลาศรัย เอง
การเขียนคำแถลง เรื่องนี้ถือเป็นหน้าที่ของแต่ละคน ต่างคนต่างเขียนตามแนวทางที่ทุกคนศึกษาและหาหลักฐาน จากนั้นจึงจะนำมาปรึกษาหารือกัน
ยืนยันว่ามีหน่วยงานหลายหน่วยงานที่เข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในเรื่องนี้ไม่ว่าจะเป็นกองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กฤษฎีกา กรมพระธรรมนูญทหาร ถ้าพูดกันว่านี่คือผลงานผม
ยืนยันว่าไม่ใช่ผลงานของผมคนเดียว
ผมยอมรับว่าร่างแรกนั้นผมเขียนเองทั้งหมดแต่ร่างที่ 2 และที่ 3 ได้มีข้อเสนอแนะและข้อหารือจากทุกหน่วยงาน
บางครั้งท่านรัฐมนตรีก็เข้ามาร่วมเสนอความเห็น บางครั้งปลัดกระทรวงก็นำเรื่องต่างๆ ไปหารือกับท่านรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีกลาโหม
หากจะพูดว่านี่คือความสำเร็จ
ต้องบอกว่าเป็นผลงานของทุกคน
แม้กระทั่งเมื่อประสบเข้ากับคำถามอันเกี่ยวกับ
แถลงการณ์เมื่อปี 2551 และโยงไปยัง นายนพดล ปัทมะ
คำตอบของ นายวีรชัย พลาศรัย ก็แจ่มชัด
แถลงการณ์ร่วมที่ให้กัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเฉพาะตัวปราสาท
เป็นไปตามเส้นเขตแดนของมติครม.ปีพ.ศ.2505 ไม่ได้ล่วงล้ำเข้ามาในพื้นที่ 4.6 ตารางกิโลเมตร
มติครม.เมื่อปีพ.ศ.2505 ต่างหากคือ บรรทัดฐานที่ยึดถือ
ไม่เพียงคณะทนายความที่มี นายวีรชัย พลาศรัย จะยึดมติครม.เมื่อปี 2505 เป็นหลัก หากแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชายุค นายนพดล ปัทมะ ก็ยึดมติครม.เมื่อปี 2505 เป็นหลัก
จากคำยืนยันของ นายวีรชัย พลาศรัย
ท่าทีและท่วงทำนองทั้งหมดของ นายวีรชัย พลาศรัย ยืนยันอย่างเด่นชัดในหลายประการ
ยืนยัน 1 ความเป็นข้าราชการอันเป็นกลไกอำนาจรัฐ ยืนยัน 1 ความเป็นผู้รู้จักกระบวนการทำงานที่เป็นจริงที่จะต้องประสานและร่วมมือกัน ยืนยัน 1 ความเป็นมืออาชีพ
มืออาชีพที่ไม่ตกเป็นเหยื่ออย่างง่ายดาย
ที่มา...ข่าวสดออนไลน์ 24 เม.ย.56
http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRNMk5qY3lPVGN5T0E9PQ==§ionid=
???????????????????????????????
"......ไม่เพียง
คณะทนายความที่มี นายวีรชัย พลาศรัย จะยึดมติครม.เมื่อปี 2505 เป็นหลัก หาก
แถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชายุค นายนพดล ปัทมะ ก็ยึดมติครม.เมื่อปี 2505 เป็นหลัก
จาก
คำยืนยันของ นายวีรชัย พลาศรัย....."
ชัดเจนแล้วครับท่าน....
ไม่มีใดสงสัยแล้วครับท่าน....
เป็นไปตามที่ท่านยืนยันครับท่าน......
พวกเสี้ยมจะว่าอย่างไรก็แล้วแต่จะจินตนาการ
ตัวเป็นๆพูดเองเน้อเรื่องนี้......ไม่เชื่อลองอ่านดูสิ....
บทบาท ท่าที ของ วีรชัย พลาศรัย ต่อ นพดล ปัทมะ...บทบาทมืออาชีพที่ไม่ตกเป็นเหยื่อของการเสี้ยม งานนี้สลิ่มสาบก็เงิบอีกแระ
ทั้งๆ ที่มีความพยายามปลุกกระแสโดยแยก นายวีรชัย พลาศรัย ออกจากรัฐบาล ออกจากนักการเมืองอย่างเต็มเรี่ยวแรง
ถึงขนาดยกให้เป็นพระเอกแต่เพียงผู้เดียว
ถึงขนาดสร้างเรื่องและขยายให้กลายเป็นความขัดแย้งระหว่าง นายนพดล ปัทมะ กับ นายวีรชัย พลาศรัย ตั้งแต่สมัยรัฐบาล นายสมัคร สุนทรเวชและต่อเนื่องมาถึงรัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
โดยพยายามโดดเดี่ยว นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ พล.อ.อ.สุกำพล สุวรรณทัต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ออกจากทีมทนายความอันมี นายวีรชัย พลาศรัย เป็นหัวหน้า เสมือนว่า 3 คนนั้นแทบไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในทางอันเป็นคุณประโยชน์อะไรเลย
ในที่สุดก็ไม่สำเร็จ
นั่นก็สัมผัสได้จากคำยืนยันของ นายวีรชัย พลาศรัย เอง
การเขียนคำแถลง เรื่องนี้ถือเป็นหน้าที่ของแต่ละคน ต่างคนต่างเขียนตามแนวทางที่ทุกคนศึกษาและหาหลักฐาน จากนั้นจึงจะนำมาปรึกษาหารือกัน
ยืนยันว่ามีหน่วยงานหลายหน่วยงานที่เข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในเรื่องนี้ไม่ว่าจะเป็นกองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กฤษฎีกา กรมพระธรรมนูญทหาร ถ้าพูดกันว่านี่คือผลงานผม ยืนยันว่าไม่ใช่ผลงานของผมคนเดียว
ผมยอมรับว่าร่างแรกนั้นผมเขียนเองทั้งหมดแต่ร่างที่ 2 และที่ 3 ได้มีข้อเสนอแนะและข้อหารือจากทุกหน่วยงาน บางครั้งท่านรัฐมนตรีก็เข้ามาร่วมเสนอความเห็น บางครั้งปลัดกระทรวงก็นำเรื่องต่างๆ ไปหารือกับท่านรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีกลาโหม
หากจะพูดว่านี่คือความสำเร็จต้องบอกว่าเป็นผลงานของทุกคน
แม้กระทั่งเมื่อประสบเข้ากับคำถามอันเกี่ยวกับแถลงการณ์เมื่อปี 2551 และโยงไปยัง นายนพดล ปัทมะ
คำตอบของ นายวีรชัย พลาศรัย ก็แจ่มชัด
แถลงการณ์ร่วมที่ให้กัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเฉพาะตัวปราสาท เป็นไปตามเส้นเขตแดนของมติครม.ปีพ.ศ.2505 ไม่ได้ล่วงล้ำเข้ามาในพื้นที่ 4.6 ตารางกิโลเมตร
มติครม.เมื่อปีพ.ศ.2505 ต่างหากคือ บรรทัดฐานที่ยึดถือ
ไม่เพียงคณะทนายความที่มี นายวีรชัย พลาศรัย จะยึดมติครม.เมื่อปี 2505 เป็นหลัก หากแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชายุค นายนพดล ปัทมะ ก็ยึดมติครม.เมื่อปี 2505 เป็นหลัก
จากคำยืนยันของ นายวีรชัย พลาศรัย
ท่าทีและท่วงทำนองทั้งหมดของ นายวีรชัย พลาศรัย ยืนยันอย่างเด่นชัดในหลายประการ
ยืนยัน 1 ความเป็นข้าราชการอันเป็นกลไกอำนาจรัฐ ยืนยัน 1 ความเป็นผู้รู้จักกระบวนการทำงานที่เป็นจริงที่จะต้องประสานและร่วมมือกัน ยืนยัน 1 ความเป็นมืออาชีพ
มืออาชีพที่ไม่ตกเป็นเหยื่ออย่างง่ายดาย
ที่มา...ข่าวสดออนไลน์ 24 เม.ย.56
http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRNMk5qY3lPVGN5T0E9PQ==§ionid=
???????????????????????????????
"......ไม่เพียงคณะทนายความที่มี นายวีรชัย พลาศรัย จะยึดมติครม.เมื่อปี 2505 เป็นหลัก หากแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชายุค นายนพดล ปัทมะ ก็ยึดมติครม.เมื่อปี 2505 เป็นหลัก
จากคำยืนยันของ นายวีรชัย พลาศรัย....."
ชัดเจนแล้วครับท่าน....
ไม่มีใดสงสัยแล้วครับท่าน....
เป็นไปตามที่ท่านยืนยันครับท่าน......
พวกเสี้ยมจะว่าอย่างไรก็แล้วแต่จะจินตนาการ
ตัวเป็นๆพูดเองเน้อเรื่องนี้......ไม่เชื่อลองอ่านดูสิ....