สรุปการเกิดคดีปรส. โดยคุณวณษ
วิกฤติเศรษฐกิจ 2540
มีสาเหตุอันแท้จริงจากการที่
รากฐานเศรษฐกิจของประเทศง่อนแง่น
ตลอดมาอย่างยาวนานจากอดีต
เทียบได้กับตลอดอายุพรรคประชาธิปัตย์
จากสาเหตุหลายประการ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการคอรัปชั่น
ที่เอาเยี่ยงอย่างแพร่ระบาดไปทั้งสังคม
การคอรัปชั่นเป็นสิ่งปกติธรรมดา
“ต่างเอาเยี่ยงอย่างกัน แพร่ลามจากผู้มีอิทธิพลทั้งที่เปิดเผยและที่อยู่ในมุมมืด จากบนลงล่าง”
เป็นรากเหง้าอันสำคัญของการโกงกินประเทศที่คงอยู่ตลอดมาจวบกระทั่งปัจจุบัน
จุดเริ่มต้นวิกฤติคือ
การเปิดเสรีทางการเงินของพรรคประชาธิปัตย์
ที่เปิดเสรีทางการเงินแต่ตรึงค่าเงินบาท
ทำให้มีผู้เข้าไปติดกับดักเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนยากจะแก้ไข
มีการกู้เงินจากต่างประเทศมาใช้อย่างมือเติบ
ฐานะของประเทศแท้จริงไม่ได้แข็งแกร่งดังภาพลวงจากการใช้จ่ายเงินจากหนี้
ค่าเงินบาทที่แท้จริงตามฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างจากค่าเงินบาทที่ถูกตรึงไว้
กองทุนการเงินที่น่าจะเป็นของนายจอร์จ โซรอส กระทำการโจมตีค่าเงินบาท
โดยการขายเงินบาทล่วงหน้า ถล่มราคาให้ต่ำลงไปเรื่อยๆ
แล้วซื้อในราคาต่ำ เอาไปคืนที่ขายล่วงหน้าไว้
ถ้าค่าเงินบาทแข็งแกร่งจริง ก็จะมีผู้รับซื้อ…แต่ไม่ใช่
บางส่วนเทขายด้วยความตระหนก บางส่วนร่วมซ้ำ
ร่วมเป็นกองกำลังมหาศาลโจมตีค่าเงินบาท
ธนาคารแห่งประเทศไทยพยายามต่อสู้การถูกโจมตีค่าเงินบาท
ด้วยการรับซื้อจนแทบหมดหน้าตัก
ความเชื่อมั่นต่อเครดิตของประเทศหมดไป
เกิดการทวงหนี้คืนครั้งใหญ่ ฐานะของประเทศไทยก็เข้าสู่วิกฤติ
และยิ่งสาหัสเมื่อต้องใช้หนี้ด้วยค่าเงินบาท
ทำให้ทรัพย์สินและธุรกิจของไทยจำนวนมากตกไปอยู่ในมือต่างชาติ
รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์สั่งปิดสถาบันการเงิน 56 แห่ง
แล้วออกพระราชกำหนดจัดตั้งองค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน (ปรส.)
เพื่อให้ทำหน้าที่บริหารจัดการสินทรัพย์ของสถาบันการเงินที่ถูกปิด
คณะกรรมการ ปรส. นำสินทรัพย์ทั้งหมดมารวมกันและทำการประมูลขาย
ประเด็นสำคัญ คือ
1. ขายทรัพย์สิน ปรส. ที่มีมูลค่า 851,000 ล้านบาท ให้แก่ต่างชาติ ในราคา 190,000 ล้านบาท
โดยออกกฎระเบียบไม่ให้เจ้าของคนไทยซื้อ
อ้างว่าเพื่อไม่ให้เสียนิสัยจากการทำขาดทุนแล้วซื้อคืนได้ในราคาแสนต่ำที่ต่างชาติซื้อได้เช่นนั้น
ทั้งที่เจ้าของคนไทยไม่ได้ทำขาดทุนเอง
แต่เป็นผลมาจากช่องโหว่ของนโยบายเสรีทางการเงินของพรรคประชาธิปัตย์
ที่เปิดเสรีแต่ตรึงค่าเงินบาท ทำให้มีผู้เข้าไปติดกับดักเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนยากจะแก้ไขโดยไม่เสียหาย
2. กำหนดเงื่อนไขขายรวมหลายกิจการเข้าด้วยกัน ต้องใช้เงินจำนวนมาก
ที่ทำให้คนไทยทั่วไปในเวลาวิกฤติเช่นนั้นยากที่จะซื้อได้
อีกทั้งทำให้ผู้ประกอบการต่างๆ ไม่สะดวกจะซื้อ เพราะกิจการที่ไม่อยู่ในแนวธุรกิจของตนถูกรวมเอาไว้ด้วย
3. คดีทรัพย์สิน ปรส. หลายคดี จะเริ่มทยอยหมดอายุความในวันที่ 21 เดือนมิถุนายน 2556
สรุประยะเวลาเกิดคดี ปรส.
2 กรกฎาคม 2540 ประกาศลอยตัวค่าเงินบาท
14 สิงหาคม 2540 แจ้งเจตจำนงขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 1 สมัยรัฐบาลชวลิตพรรคความหวังใหม่
30 พฤศจิกายน 2540 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 2 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
28 กุมภาพันธ์ 2541 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 3 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
31 พฤษภาคม 2541ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 4 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
31 สิงหาคม 2541 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 5 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
30 พฤศจิกายน 2541 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 6 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
28 กุมภาพันธ์ 2542 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 7 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
31 พฤษภาคม 2542 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 8 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
31 สิงหาคม 2542 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 9 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
30 พฤศจิกายน 2542 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 10 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
28 กุมภาพันธ์ 2543 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 11 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
31 พฤษภาคม 2543 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 12 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
วษณ
18 เมษายน เวลา 14:07 น.
zzz คดีปรส.ขอรู้วันนี้ zzz
วิกฤติเศรษฐกิจ 2540
มีสาเหตุอันแท้จริงจากการที่
รากฐานเศรษฐกิจของประเทศง่อนแง่น
ตลอดมาอย่างยาวนานจากอดีต
เทียบได้กับตลอดอายุพรรคประชาธิปัตย์
จากสาเหตุหลายประการ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการคอรัปชั่น
ที่เอาเยี่ยงอย่างแพร่ระบาดไปทั้งสังคม
การคอรัปชั่นเป็นสิ่งปกติธรรมดา
“ต่างเอาเยี่ยงอย่างกัน แพร่ลามจากผู้มีอิทธิพลทั้งที่เปิดเผยและที่อยู่ในมุมมืด จากบนลงล่าง”
เป็นรากเหง้าอันสำคัญของการโกงกินประเทศที่คงอยู่ตลอดมาจวบกระทั่งปัจจุบัน
จุดเริ่มต้นวิกฤติคือ
การเปิดเสรีทางการเงินของพรรคประชาธิปัตย์
ที่เปิดเสรีทางการเงินแต่ตรึงค่าเงินบาท
ทำให้มีผู้เข้าไปติดกับดักเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนยากจะแก้ไข
มีการกู้เงินจากต่างประเทศมาใช้อย่างมือเติบ
ฐานะของประเทศแท้จริงไม่ได้แข็งแกร่งดังภาพลวงจากการใช้จ่ายเงินจากหนี้
ค่าเงินบาทที่แท้จริงตามฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างจากค่าเงินบาทที่ถูกตรึงไว้
กองทุนการเงินที่น่าจะเป็นของนายจอร์จ โซรอส กระทำการโจมตีค่าเงินบาท
โดยการขายเงินบาทล่วงหน้า ถล่มราคาให้ต่ำลงไปเรื่อยๆ
แล้วซื้อในราคาต่ำ เอาไปคืนที่ขายล่วงหน้าไว้
ถ้าค่าเงินบาทแข็งแกร่งจริง ก็จะมีผู้รับซื้อ…แต่ไม่ใช่
บางส่วนเทขายด้วยความตระหนก บางส่วนร่วมซ้ำ
ร่วมเป็นกองกำลังมหาศาลโจมตีค่าเงินบาท
ธนาคารแห่งประเทศไทยพยายามต่อสู้การถูกโจมตีค่าเงินบาท
ด้วยการรับซื้อจนแทบหมดหน้าตัก
ความเชื่อมั่นต่อเครดิตของประเทศหมดไป
เกิดการทวงหนี้คืนครั้งใหญ่ ฐานะของประเทศไทยก็เข้าสู่วิกฤติ
และยิ่งสาหัสเมื่อต้องใช้หนี้ด้วยค่าเงินบาท
ทำให้ทรัพย์สินและธุรกิจของไทยจำนวนมากตกไปอยู่ในมือต่างชาติ
รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์สั่งปิดสถาบันการเงิน 56 แห่ง
แล้วออกพระราชกำหนดจัดตั้งองค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน (ปรส.)
เพื่อให้ทำหน้าที่บริหารจัดการสินทรัพย์ของสถาบันการเงินที่ถูกปิด
คณะกรรมการ ปรส. นำสินทรัพย์ทั้งหมดมารวมกันและทำการประมูลขาย
ประเด็นสำคัญ คือ
1. ขายทรัพย์สิน ปรส. ที่มีมูลค่า 851,000 ล้านบาท ให้แก่ต่างชาติ ในราคา 190,000 ล้านบาท
โดยออกกฎระเบียบไม่ให้เจ้าของคนไทยซื้อ
อ้างว่าเพื่อไม่ให้เสียนิสัยจากการทำขาดทุนแล้วซื้อคืนได้ในราคาแสนต่ำที่ต่างชาติซื้อได้เช่นนั้น
ทั้งที่เจ้าของคนไทยไม่ได้ทำขาดทุนเอง
แต่เป็นผลมาจากช่องโหว่ของนโยบายเสรีทางการเงินของพรรคประชาธิปัตย์
ที่เปิดเสรีแต่ตรึงค่าเงินบาท ทำให้มีผู้เข้าไปติดกับดักเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนยากจะแก้ไขโดยไม่เสียหาย
2. กำหนดเงื่อนไขขายรวมหลายกิจการเข้าด้วยกัน ต้องใช้เงินจำนวนมาก
ที่ทำให้คนไทยทั่วไปในเวลาวิกฤติเช่นนั้นยากที่จะซื้อได้
อีกทั้งทำให้ผู้ประกอบการต่างๆ ไม่สะดวกจะซื้อ เพราะกิจการที่ไม่อยู่ในแนวธุรกิจของตนถูกรวมเอาไว้ด้วย
3. คดีทรัพย์สิน ปรส. หลายคดี จะเริ่มทยอยหมดอายุความในวันที่ 21 เดือนมิถุนายน 2556
สรุประยะเวลาเกิดคดี ปรส.
2 กรกฎาคม 2540 ประกาศลอยตัวค่าเงินบาท
14 สิงหาคม 2540 แจ้งเจตจำนงขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 1 สมัยรัฐบาลชวลิตพรรคความหวังใหม่
30 พฤศจิกายน 2540 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 2 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
28 กุมภาพันธ์ 2541 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 3 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
31 พฤษภาคม 2541ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 4 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
31 สิงหาคม 2541 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 5 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
30 พฤศจิกายน 2541 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 6 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
28 กุมภาพันธ์ 2542 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 7 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
31 พฤษภาคม 2542 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 8 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
31 สิงหาคม 2542 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 9 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
30 พฤศจิกายน 2542 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 10 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
28 กุมภาพันธ์ 2543 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 11 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
31 พฤษภาคม 2543 ขอรับการช่วยเหลือจาก IMF ฉบับที่ 12 สมัยรัฐบาลชวนพรรคประชาธิปัตย์
วษณ
18 เมษายน เวลา 14:07 น.