ขอตั้งคำถาม สนธิลิ้ม สว.รสนา และม.ล.กรกสิวัฒน์ เกษมศรี จะทวงคืน ปตท.ถามผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือยังฮ้า

ประชาชนคนไทย จะได้มีโอกาสรับรู้ข้อมูล ของกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ในธุรกิจพลังงานของประเทศ  ปตท. กันก็ยุคนี้ล่ะ เนื่องจาก กลุ่มคนที่ออกมาคัดค้านทวงคืน ปตท.เย้วๆ เราก็รู้จักหน้าค่าตากันดีอยู่แล้ว ไม่หลุดไปจากไลน์ พันธมิตร สว.รสนา และกลุ่มเอ็นจีโอ ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมก็เท่านั้น ที่สำคัญยิ่งไปกว่า เมื่อตรงสอบลงไปลึกๆแล้ว กลุ่มที่ออกมาทวงคืน ปตท.ต่างก็มีหุ้น ปตท.อยู่ในมือ แต่พอสรุปได้ว่า มีอยู่จำนวนน้อย กำไรจึงน้อยผลประโยชน์จึงน้อย เคาะกะลาหาทรัพย์หรือเปล่า

แล้วขอถามจริงๆเถอะหากเห็นรายชื่อกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่จริงๆ จะกล้าทวงคืน ปตท.ไม๊ ขออนุญาตหรือบอกกล่าวพวกเขาเหล่านี้หรือยัง และอย่าทำตัวหลอกด่า ตีกินและสบัดก้นหนี กรณีที่ใส่ร้ายว่า ทักษิณถือหุ้น ปตท. พบว่าจากข้อมูลที่เราได้มา ปรากฎว่าไม่มีเลย สักหุ้นจะบอกให้
-ทวีฉัตร จุฬางกูร หลายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ – 2.2 ล้านหุ้น (เท่ากับ 0.078%)-จอง 1 แสนหุ้น, อุปการคุณ 2.1 ล้านหุ้น
-ประยุทธ มหากิจศิริ รองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย – 5.106 ล้านหุ้น (เท่ากับ 0.18%) -ประยุทธ (จอง 1แสน, อุปการคุณ 1.96 ล้านหุ้น) เท่ากับ 2.01
-สุวิมล (จอง 1.1 ล้าน, อุปการคุณ 4.46 แสน) เท่ากับ 1.546
-เฉลิมชัย เท่ากับ 1.5 รวมเป็น 5.106
ตระกูลอื่นๆ ที่ฝ่าย สว.รสนาไม่แตะต้อง
-สกุล จิราธิวัฒน์ 9 แสนหุ้น , ตรีทอง 3 แสนหุ้น , นำศิริกุล 5 แสนหุ้น , ลีนะบรรจง 4 แสนหุ้น , นกน้อย นิมมานเหมินทร์ (ภรรยานาย ธานินทร์) , เกษม รุ่งธนะเกียรติ , อานันท์ ปันยารชุน , บรรหาร ศิลปอาชา เป็นต้น
กลุ่มมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ที่ร่วมกับ นางรสนา โตสิตระกูล เป็นโจทย์ฟ้องยึดคืน ปตท. รวมอยู่ด้วย โดย นางสาว จิราพร ลิ้มปานานนท์ ประธานมูลนิธิ 8,000 หุ้น , นาย จำเริญ อัศวเรืองชัย (ญาตินางสุวรรณา อัศวเรืองชัย กรรมการ) 100,000 หุ้น , จรัญ ลิ้มปานนท์ (ญาติประธาน) 5,000 หุ้น นางพรทิพย์ ศุภวงศ์(ญาตินายชูชัย ศุภวงศ์ กรรการ) รวมกัน 26,000 หุ้น และ นางสาวศุภรัตน์ อาชานานุภาพ (ญาตินายสุรเกียรติ อาชานุภาพ กรรมการ) 3000 ... ญาตินายชัยรัตน์ แสงอรุณ ทนายความผู้รับอำนาจจากมูลนิธิฯ 85,000 หุ้น (ชยากร แสงอรุณ 13,000 , จันทรา แสงอรุณ 30,000 หุ้น , แสบ แสงอรุณ 40,000 หุ้น , ศศิยา แสงอรุณ 2,000 หุ้น) เป็นต้น หุ้นดังกล่าวรวมทั้งสิ้น 25.56 ล้านหุ้น(เท่ากับ 0.91%)
ดังนั้นหุ้นส่วนของนักการเมืองพรรคต่างๆ รวมNGO ทั้งที่เป็นศัตรูกันด้วย รวมกันมีสัดส่วน 0.91% ผู้ที่จัดสรรให้คือ ธนาคารไทยพาณิชย์...
ในวันนี้เป็นฝั่งตรงข้ามกับทักษิณแล้ว การวิเคราะห์ให้คนอ่านคิดว่ากลุ่มการเมือง (ทักษิณ) คือหุ้นใหญ่ใน ปตท. จึงห่างไกลความเป็นจริงมากนัก
หุ้นปตท.เริ่มขึ้นกลางเดือนเมษายน 2546
การจองหุ้นแบบเอาเปรียบ (ราคา35บาท) เป็นสิ่งไม่ถูกต้อง แต่ข้อเท็จจริง ประชาชนยังมีโอกาสซื้ออีกเกือบ2 ปีบางช่วงราคาต่ำกว่าIPOด้วย
สำนักงานทรัพย์สินฯ ก็นำที่ดินมาแลกหุ้นปตท.ถึง 34ล้านหุ้นรวมแล้วมากกว่านักการเมืองทั้งหมด ( ข้อมูลจากนิตยสาร “ดอกเบี้ยธุรกิจ” ฉบับ พฤษภาคม 2547 )
การนำที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ แลกกับหุ้น ปตท โครงการนี้ สนง.ทรัพย์สินฯ ได้เปรียบกระทรวงการคลังมากมายคณานับ
ปลายปี 2544 กระทรวงการคลังและ สนง. ทรัพย์สินฯ แต่งตั้งคณะทำงานขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อพิจารณาการแลกเปลี่ยนทรัพย์สินระหว่างกัน จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผ.อ. สนง.ทรัพย์สินฯ ตั้งตัวแทนอันประกอบด้วย
ศิรินทร์ นิมมานเหมินท์ ในฐานะกรรมการ บ.ทุนลดาวัลย์
ประยุกต์ อนุพันธุ์สกุล หัวหน้าแผนกการเงิน สนง.ทรัพย์สินฯ
ศรีสุดา รัตนฤดีรมณ์ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์อาวุโส บ.ทุนลดาวัลย์
***คณะทำงานร่วม หารือ พิจารณาเลือกทรัพย์ กำหนดหลักเกณฑ์ นำที่ดินของสนง.ทรัพย์สินฯ ที่ส่วนราชการใช้ประโยชน์.. แต่สนง.ทรัพย์สินฯ ได้รับประโยชน์อัตราต่ำและไม่สามารถปรับปรุงผลประโยชน์เพิ่ม มาแลกกับหลักทรัพย์กระทรวงการคลังที่เกิดจากการแปรรัฐวิสาหกิจที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
มาถึงตอนนี้ก็เป็นไปตามแผนของ จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา แล้ว เขาจึงเสนอที่ดินของ สนง.ทรัพย์สินฯ ที่มีการจัดเก็บรายได้ต่ำมาก บริเวณสวนมิสกวัน (ที่ตั้งกองบัญชาการตำรวจนครบาล ,กองพลที่ 1 ร.อ. และบริเวณคุรุสภา) แลกกับ หุ้น ปตท. ที่กระทรวงการคลังถืออยู่
ในการกำหนดราคาที่ดินจะใช้ราคาประเมิน ส่วนราคาหุ้น ใช้ IPO (ราคาเปิดให้ประชาชนจองซื้อ 27 พฤศจิกายน 2544) มีเงื่อนไขห้ามซื้อขาย (silent period) เป็นเวลา 1 ปี และการโอนเมื่อครบกำหนด 1 ปีแล้ว

ถ้าราคาหุ้น ปตท. สูงกว่า IPO/35 ให้โอนในราคา 35 บาท
ถ้าราคาหุ้น ปตท.ต่ำกว่า 35 ให้โอนในราคาตลาด
เริ่มข้อตกลงประการแรกก็เห็นความเสียเปรียบของกระทรวงการคลังแล้ว

***มาดูว่า สนง.ทรัพย์สินฯ ได้หุ้น ปตท. ไปทั้งหมดกี่หุ้น
ที่ดินสวนมิสกวัน 10.810 ตาราวา (85,000 / ตารางวา)
คุรุสภา 3,290 ตาราวา (85,000/ ตารางวา)
สองแห่งคิดเป็นราคา 1,198,500,000 บาท แลกหุ้น ปตท. (35บาท/หุ้น) ได้ 34,242,857หุ้น(ของหุ้นปตท.ทั้งหมด)...(1.22%)
ต้นปี 2547 หรือ 2 ปีให้หลัง ราคาหุ้น ปตท. เพิ่มห้าเท่าตัว (140-170 บาท/หุ้น) ส่งผลให้สนง.ทรัพย์สินฯ กำไรจากมูลค่าหุ้น ปตท. ถึงกว่า 3,500 ล้านบาท อย่างนี้จะไม่ให้บอกว่า จิรายุ .. เก่งได้อย่างไร
บทสรุปมหากาพย์พลังงาน
*** กลุ่มบุคคลและกรรมการในองค์กรที่เกี่ยวข้องเป็นเครือข่าย ***
กลุ่มที่ 1 องคมนตรี (18 ท่าน และประธานอีก 1 ท่...าน)

กลุ่มที่ 2 “สำนักราชเลขา” เดิมชื่อ “สำนักราชเลขาในพระองค์  รายนามราชเลขา (เทียบปลัดกระทรวง)
มล.นิกรเทวัญ เทวกุล 15 ก.พ. 2493 – 18 ก.พ. 2512
มล. ทวีสันต์ ลดาวัลย์ 18 ก.ย. 2512 – 1 ต.ค. 2538
มล. พีระพงษ์ เกษมศรี 1 ต.ค. 2538 – 1 ส.ค. 2543
อาสา สารสิน 1 ส.ค. 2543 – ปัจจุบัน

กลุ่มที่ 3 “สำนักพระราชวัง” มีฐานะเป็นกรม (เทียบเท่าทบวง)
รายนามเลขาธิการพระราชวัง
มล.โป๊ะ มาลากุล 2478 – 2490
พล ต. หม่อมทวีวงศ์ ถวิลศักดิ์ 1 ก.พ. 2490 – 6 ส.ค. 2509
ดร. กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา 7 ส.ค. 2509 - 23 พ.ค. 2521

(กลุ่มที่ 1 องคมนตรี)
พูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ 24 พ.ย. 2521 – 27 ก.ค. 2530
แก้วขวัญ วัชโรทัย 28 ก.ค. 2530 – ปัจจุบัน

ผู้บังคับการโรงเรียนวชิราวุธ (โรงเรียนมหาดเล็กหลวงเดิม)
เสริญ ปันยารชุน (พ่ออานันท์) 2469-2476
...ฯลฯ...
ทศทิศ อิศรเสนา (พ่ออายุส อิศรเสนาฯ) 2486-2518
ดร. กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา 2519-2538 (กลุ่มที่ 1)
ดร.ชัยนันต์ สมุทรวานิช 2539-2550

กลุ่มบุคคล ที่ 1 2 3 ส่วนใหญ่ มาจาก ข้าราชการและรัฐวิสาหกิจระดับสูง เป็นส่วนใหญ่ตั่งแต่อดีตนายกรัฐมนตรี,ปลัดกระทรวง,อธิบดี ผู้ว่าการไฟฟ้าฝ่ายผลิต,ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย,ผู้ว่าการประปา,ผู้ว่าการรถไฟ,ผู้ว่าการโทรศัพย์... อดีตประธานศาลฎีกา,อธิการบดีหมาวิทยาลัย,อดีต ผ.บ.เหล่าทัพเป็นต้น

เมื่อได้รับคัดเลือกมาสู่องค์กรที่รับใช้ใกล้ชิดราชสำนักจึงเป็นกลุ่มที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดในประเทศไทย ทุกองค์กรให้ความเคารพและยำเกรง มีสายสัมพันธ์ที่กว้างและลึกเชื่อมโยงการทำธุรกิจขนาดใหญ่ผ่านทางสำนักงานทรัพย์สินฯ

กลุ่มที่4 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัติย์ คณะกรรมการประกอบด้วย  รมต.กระทรวงการคลังเป็นประธานกรรมการ(โดยตำแหน่ง)
-ฯพณฯเชาวน์ ณ ศิลวันต์ กรรมการ(กลุ่มที่1)
รมต.คมนาคม(สัญญา)องค์มนตรี
-นายสุธี สิงห์เสน่ห์ กรรมการ รมต.คลัง(อานันท์,สุจินดา)
-นายพนัส สิมะเสถียร กรรมการ รมต.คลัง (อานันท์2)
-นายเสนาะ อูนากุล กรรมการ ผู้ว่า ธปท.เลขา

สภาพัฒน์(เปรม)ป.ธ.เอเชีย
-นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย กรรมการ(กลุ่มที่1) ก่อตั้งแพทย์ชนบท,รมต.ศึกษา (ทักษิณ 1),องค์มนตรี
-นายจิรายุ อิศรางกุล ณ อยุธยา กรรมการและผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินฯ(กลุ่มที่2)

รมช.อุตสาหกรรม(เปรมฯ),รองราชเลขาฯ  ที่ปรึกษา เช่น ยศ เอื่อชูเกียรติ ป.ธ.เอเชีย,ป.บ.ไทยพลาสติก(TPC)
ชุมพล ณ ลำเลียง เครือซีเม็นต์,ไทยพาณิชย์,ป.สิงเทล
ดร.วิชิต สุระพงษ์ชัย ธ.ไทยพาณิชย์
มรว. ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาฯสมเด็จย่า

กลุ่มที่ 5 บริษัทเครือซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการ (ข้อมุล ม.ค.2554)
- จิรายุ อิศรางกูร ณ.อยุธยา ป.กรรมการ (กลุ่ม2,4)
- พนัส สิมะเสถียร (กลุ่ม4) กรรมการ(กลุ่ม4)
- พล อ.อ.กำธน สินธวานนท์ กรรมการ (กลุ่ม1)
- ยศ เอื้อชูเกียรติ (กลุ่ม4) กรรมการ(กลุ่ม4)
- เสนาะ อูนากูล กรรมการ (กลุ่ม4)
- อาสา สารสิน (กลุ่ม2) กรรมการ(กลุ่ม2)
- ประมนต์ สุธีวงศ์ กรรมการ
- ชุมพล ณ.ลำเลียง (กลุ่ม4) กรรมการ(กลุ่ม4)
- สุเมธ ตันติเวชกุล กรรมการ
- ธารินทร์ นิมมานเหมินทร์ กรรมการ
- ปรีชา อรรถวิภัชน์ กรรมการ
- กาน ฮุนตระกุล กรรมการ,กรรมการผู้จัดการใหญ่เครือปูนซีเมนต์ไทย(2515)

- เพิ่มพูน ไกรฤกษ์ (ผ.อ.สำนักงานทรัพย์สิน) เป็นประธานกรรมการบริษัท 2517 – 2519
- บุญมา วงสวรรค์ (รมต.คลัง สมัยสัญญา) เป็นผู้จัดการใหญ่
- กรรมการคนอื่นๆ สัญญา ธรรมศักดิ์, โอสถโกสิน(รมต.อุสาหกรรม สมัยสัญญา)
- ช่วงนี้ จรัส ชูโต ยังทำงานอยู่ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง, อายุส อิศรเสนาฯ(บุตรทศทิศ อิศรเสนา ณ.อยุธยา) เพิ่งเริ่มเข้าเหล็กสยาม,อมเรศ ศิลาอ่อน(รมต.พาณิชย์ สมัยอานันท์) เพิ่งเข้าจับสยามคราฟท์
2519 – 2523

- สมหมาย ฮุนตระกุล เป็นผู้จัดการใหญ่ สัญญาธรรมศักดิ์ เป็นประธานกรรมการ สมหมาย(เป็นลูกโกศล ฮุนตระกุล พี่ชายพระยาศรีวิสารวาจา) เป็นอดีต ผู้ว่าการไฟฟ้าผลิตผู้จัดการใหญ่ ธ.ไทยพาณิชย์ รมช.คลัง(สมัยสัญญา), รมต.คลังสมัยเปรมฯ(2524 – 2529)และไปเป็นกรรมการสำนักงานทรัพย์สิน

2523 – 2527 จรัส ชูโต เป็น ผู้จัดการใหญ่
2528 – 2535 พารณอิศรเสนา ณ.อยุธยา เป็น กรรมการผู้จัดการใหญ่

2536 ชุมพล ณ.ลำเลียง เป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่
จิรายุ อิศรางกูรฯ มาเป็นประธานกรรมการ แทนสัญญาธรรมศักดิ์ ซึ่งป่วย...
เสนาะ อูนากุล มาเป็นกรรมการแทน บุญมา ซึ่งป่วย เสนาะพึ่งพ้นตำแหน่ง รองนายกฯฝ่ายเศรษฐกิจ (รัฐบาลสัญญา) ไปเป็นประธานกรรมการธ.เอเซียแทน
จรูญพันธ์ อิศรางกูร ณ.อยุธยา (บิดาของจิรายุเป็นรมต.ต่างประเทศ รัฐบาลสัญญาจากนั้นเป็นองคมนตรีปี 2518...) ก่อนมาปูนซีเมนต์ไทย...
ศิววงค์ จังคศิริ , ยศ เอื้อชูเกียรติเข้ามาเป็นกรรมการ ศิววงค์ เป็นข้าราชการที่มีบทบาทมากตอน จิรายุ เป็นรัฐมนตรี...ศิววงค์ เป็นปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (2539)...จากนั้น เป็น ประธานกรรมการธนาคารเอเซียต่อจากเสนาะกรรมการต่อมา
ปรีชา อรรถวิภัชน์ ปลัดกระทรวงอุตฯ ต่อจากศิววงศ์…มีบทบาทเรื่องน้ำตาลในช่วง จิรายุ เป็น รมช.อุตสาหกรรม
นอกจากนี้ได้ บรรยง ล่ำซำ แห่งธนาคารกสิกรไทย มาเป็นที่ปรึกษาคณะกรรมการ ดุสิต นนทะนาคร ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่,กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทค้าซีเมนต์ไทยจำกัด

แย่เยี่ยม(ที่มา:ผู้จัดการ กค.2542)

กลุ่ม 6 ธนาคารไทยพาณิชย์ (ผู้จัดการ ตุลา 2541)
2487 - 2515 อาภรณ์ กฤษณามระ เป็นกรรมการผู้จักการยาวนานที่สุด
2515 - 2535 พูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ เป็นนายกกรรมการ ธารินทร์ นิมมานเหมินทร์ อยู่ฝ่ายต่างประเทศ (2517)…ชฏา วัฒนศิริธรรม

เห็นรายชื่อเหล่านี้แล้ว ช่วยไปทวงคืนด้วยล่ะ ขอร้องอย่าแหตาชาวบ้าน
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่