13 มีนาคม 2556 ICTซ๊อก(เปิดเสรี..ไปรษณีย์..)เตรียมคลอดคณะกรรมการกิจการไปรษณีย์แห่งชาติ (ที่จะให้ใบอนุญาติเหมือนกสทช.)เพื่อทุนต่างชาติลงทุนได้
ประเด็นหลัก
นายไชยยันต์ ยังกล่าวว่า กระทรวงไอซีทีมีแผนจัดตั้งองค์กรใหม่ขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่กำกับดูแลธุรกิจไปรษณีย์ของประเทศไทย ภายใต้ชื่อ คณะกรรมการกิจการไปรษณีย์แห่งชาติ เพื่อรองรับการเปิดเสรีธุรกิจไปรษณีย์ ที่เปิดให้บริษัทต่างชาติเข้ามาทำธุรกิจในไทยได้
โดยการทำงานของคณะกรรมการที่จะจัดตั้งขึ้นนี้ จะทำหน้าที่คล้ายกับคณะกรรมการกิจกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ซึ่งมีหน้าที่หลักคือ การออกใบอนุญาต ออกกฎเกณฑ์ กฎระเบียบต่างๆ และต้องกำกับดูแลการทำหน้าที่ของบริษัท ไปรษณีย์ใหม่ที่จะจัดตั้งขึ้นด้วยเช่นเดียวกับ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จะต้องเข้ามาอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ คณะกรรมการกิจการไปรษณีย์แห่งชาติเช่นกัน
'คาดว่าจะใช้เวลา 3-5 ปี เพื่อดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการฯโดยจะต้องมีการจัดทำกฎหมายฉบับใหม่ขึ้นมารองรับคณะกรรมการฯ ชุดใหม่นี้ด้วย'
สำหรับสาเหตุที่ต้องเปิดเสรีกิจการไปรษณีย์นั้น เป็นเพราะว่าประเทศไทยอยู่ภายใต้ สหภาพสากลไปรษณีย์ ที่กำหนดให้ประเทศสมาชิกต้องเปิดเสรีทั้งหมด แต่ในเบื้องต้นยังไม่กำหนดว่าจะให้เปิดเสรีในปีไหน นอกจากนี้ที่ผ่านมาธุรกิจไปรษณีย์ในประเทศไทย ถูกผูกขาดโดย บริษัท ไปรษณีย์ไทย ที่ได้รับสิทธิ์ตามกฎหมายที่มีอยู่ตามพ.ร.บ.ไปรษณีย์ พ.ศ. 2477 และ พ.ร.บ.การสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2519 โดยสามารถจัดตั้งบริษัทได้ตามพรบ.ทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 และไม่เปิดให้บริษัทต่างชาติเข้ามาทำธุรกิจแต่อย่างใด
สำนักข่าวที่อ้างอิงในประเด็นนี้
http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9560000030640&Keyword=%b4%d2%c7%e0%b7%d5%c2%c
______________________________________
ไอซีที เคลียร์ปัญหาดาวเทียมไทยคม
ไอซีทียันปัญหาสัญญาสัมปทานดาวเทียมไทยคม ได้ข้อยุติทั้ง 3 ประเด็น เหลือแค่ขอเวลาเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นอินทัชในไทยคมให้เป็น 51% เท่านั้น
นายไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์ ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) กล่าวถึงความคืบหน้า การแก้ไขสัญญาสัมปทานดาวเทียมไทยคมใน 3 ประเด็นได้แก่ 1.การเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นของอินทัช2.การคืนเงินค่าประกันดาวเทียมไทยคม และ3.การสร้างดาวเทียมดวงใหม่ โดยล่าสุดไอซีทีได้มีการตั้งคณะทำงานขึ้นมาเพื่อตรวจสอบในประเด็นดังกล่าวแล้ว ซึ่งคาดว่าในสัปดาห์หน้าจะมีการประชุมร่วมกันเพื่อสรุปความคืบหน้าทั้ง 3 ประเด็น เพื่อนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาสัญญาสัมปทานดาวเทียม เข้าที่ประชุมคณะกรรมการมาตรา 22 ของพ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 (พ.ร.บ.ร่วมทุนฯ) หลังจากนั้นจะส่งให้กระทรวงไอซีทีและนำเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรีต่อไป
สำหรับการแก้ไขสัญญาทั้ง 3 ประเด็นของไทยคมนั้นขณะนี้ได้สะสางเสร็จเรียบร้อยเกือบทั้งหมดแล้ว เหลือเพียงการเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นของอินทัชให้กลับไปอยู่ในส่วนเดิม 51% ตามสัญญาเดิมจากปัจจุบันอยู่ที่ 41% โดยไทยคมได้ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการ เนื่องจากเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯต้องมีขั้นตอนและกระบวนการที่ต้องใช้เวลา
ส่วนเรื่องการคืนเงินประกัน 6.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่ต้องนำส่งคืนรัฐนั้นสำนักงานอัยการสูงสุดได้ตอบกลับมาแล้วว่าการดำเนินการของไทยคมไม่ถือว่ามีความผิดเพราะได้นำเงินไปจัดสร้างดาวเทียมใหม่ซึ่งจะเป็นการเพิ่มผลประโยชน์ให้แก่ภาครัฐ และประเด็นการสร้างดาวเทียมดวงใหม่ล่าสุดไทยคมได้ดำเนินการสร้างดาวเทียมไทยคม 6เพื่อสำรองดาวเทียมไทยคม 5 ซึ่งมีแผนจะยิงดาวเทียมในเดือนมิ.ย.นี้ ซึ่งถือเป็นการปฏิบัติตามสัญญาที่ต้องมีดาวเทียมสำรอง
นายไชยยันต์ ยังกล่าวว่า กระทรวงไอซีทีมีแผนจัดตั้งองค์กรใหม่ขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่กำกับดูแลธุรกิจไปรษณีย์ของประเทศไทย ภายใต้ชื่อ คณะกรรมการกิจการไปรษณีย์แห่งชาติ เพื่อรองรับการเปิดเสรีธุรกิจไปรษณีย์ ที่เปิดให้บริษัทต่างชาติเข้ามาทำธุรกิจในไทยได้
โดยการทำงานของคณะกรรมการที่จะจัดตั้งขึ้นนี้ จะทำหน้าที่คล้ายกับคณะกรรมการกิจกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ซึ่งมีหน้าที่หลักคือ การออกใบอนุญาต ออกกฎเกณฑ์ กฎระเบียบต่างๆ และต้องกำกับดูแลการทำหน้าที่ของบริษัท ไปรษณีย์ใหม่ที่จะจัดตั้งขึ้นด้วยเช่นเดียวกับ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จะต้องเข้ามาอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ คณะกรรมการกิจการไปรษณีย์แห่งชาติเช่นกัน
'คาดว่าจะใช้เวลา 3-5 ปี เพื่อดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการฯโดยจะต้องมีการจัดทำกฎหมายฉบับใหม่ขึ้นมารองรับคณะกรรมการฯ ชุดใหม่นี้ด้วย'
สำหรับสาเหตุที่ต้องเปิดเสรีกิจการไปรษณีย์นั้น เป็นเพราะว่าประเทศไทยอยู่ภายใต้ สหภาพสากลไปรษณีย์ ที่กำหนดให้ประเทศสมาชิกต้องเปิดเสรีทั้งหมด แต่ในเบื้องต้นยังไม่กำหนดว่าจะให้เปิดเสรีในปีไหน นอกจากนี้ที่ผ่านมาธุรกิจไปรษณีย์ในประเทศไทย ถูกผูกขาดโดย บริษัท ไปรษณีย์ไทย ที่ได้รับสิทธิ์ตามกฎหมายที่มีอยู่ตามพ.ร.บ.ไปรษณีย์ พ.ศ. 2477 และ พ.ร.บ.การสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2519 โดยสามารถจัดตั้งบริษัทได้ตามพรบ.ทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 และไม่เปิดให้บริษัทต่างชาติเข้ามาทำธุรกิจแต่อย่างใด
http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9560000030640&Keyword=%b4%d2%c7%e0%b7%d5%c2%c
ICTซ๊อก(เปิดเสรี.ไปรษณีย์.)เตรียมคลอดคณะกรรมการกิจการไปรษณีย์แห่งชาติ(ที่จะให้ใบอนุญาติเหมือนกสทช.)เพื่อทุนชาติชาติลงทุน
ประเด็นหลัก
นายไชยยันต์ ยังกล่าวว่า กระทรวงไอซีทีมีแผนจัดตั้งองค์กรใหม่ขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่กำกับดูแลธุรกิจไปรษณีย์ของประเทศไทย ภายใต้ชื่อ คณะกรรมการกิจการไปรษณีย์แห่งชาติ เพื่อรองรับการเปิดเสรีธุรกิจไปรษณีย์ ที่เปิดให้บริษัทต่างชาติเข้ามาทำธุรกิจในไทยได้
โดยการทำงานของคณะกรรมการที่จะจัดตั้งขึ้นนี้ จะทำหน้าที่คล้ายกับคณะกรรมการกิจกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ซึ่งมีหน้าที่หลักคือ การออกใบอนุญาต ออกกฎเกณฑ์ กฎระเบียบต่างๆ และต้องกำกับดูแลการทำหน้าที่ของบริษัท ไปรษณีย์ใหม่ที่จะจัดตั้งขึ้นด้วยเช่นเดียวกับ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จะต้องเข้ามาอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ คณะกรรมการกิจการไปรษณีย์แห่งชาติเช่นกัน
'คาดว่าจะใช้เวลา 3-5 ปี เพื่อดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการฯโดยจะต้องมีการจัดทำกฎหมายฉบับใหม่ขึ้นมารองรับคณะกรรมการฯ ชุดใหม่นี้ด้วย'
สำหรับสาเหตุที่ต้องเปิดเสรีกิจการไปรษณีย์นั้น เป็นเพราะว่าประเทศไทยอยู่ภายใต้ สหภาพสากลไปรษณีย์ ที่กำหนดให้ประเทศสมาชิกต้องเปิดเสรีทั้งหมด แต่ในเบื้องต้นยังไม่กำหนดว่าจะให้เปิดเสรีในปีไหน นอกจากนี้ที่ผ่านมาธุรกิจไปรษณีย์ในประเทศไทย ถูกผูกขาดโดย บริษัท ไปรษณีย์ไทย ที่ได้รับสิทธิ์ตามกฎหมายที่มีอยู่ตามพ.ร.บ.ไปรษณีย์ พ.ศ. 2477 และ พ.ร.บ.การสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2519 โดยสามารถจัดตั้งบริษัทได้ตามพรบ.ทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 และไม่เปิดให้บริษัทต่างชาติเข้ามาทำธุรกิจแต่อย่างใด
สำนักข่าวที่อ้างอิงในประเด็นนี้
http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9560000030640&Keyword=%b4%d2%c7%e0%b7%d5%c2%c
______________________________________
ไอซีที เคลียร์ปัญหาดาวเทียมไทยคม
ไอซีทียันปัญหาสัญญาสัมปทานดาวเทียมไทยคม ได้ข้อยุติทั้ง 3 ประเด็น เหลือแค่ขอเวลาเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นอินทัชในไทยคมให้เป็น 51% เท่านั้น
นายไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์ ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) กล่าวถึงความคืบหน้า การแก้ไขสัญญาสัมปทานดาวเทียมไทยคมใน 3 ประเด็นได้แก่ 1.การเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นของอินทัช2.การคืนเงินค่าประกันดาวเทียมไทยคม และ3.การสร้างดาวเทียมดวงใหม่ โดยล่าสุดไอซีทีได้มีการตั้งคณะทำงานขึ้นมาเพื่อตรวจสอบในประเด็นดังกล่าวแล้ว ซึ่งคาดว่าในสัปดาห์หน้าจะมีการประชุมร่วมกันเพื่อสรุปความคืบหน้าทั้ง 3 ประเด็น เพื่อนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาสัญญาสัมปทานดาวเทียม เข้าที่ประชุมคณะกรรมการมาตรา 22 ของพ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมการงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 (พ.ร.บ.ร่วมทุนฯ) หลังจากนั้นจะส่งให้กระทรวงไอซีทีและนำเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรีต่อไป
สำหรับการแก้ไขสัญญาทั้ง 3 ประเด็นของไทยคมนั้นขณะนี้ได้สะสางเสร็จเรียบร้อยเกือบทั้งหมดแล้ว เหลือเพียงการเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นของอินทัชให้กลับไปอยู่ในส่วนเดิม 51% ตามสัญญาเดิมจากปัจจุบันอยู่ที่ 41% โดยไทยคมได้ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการ เนื่องจากเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯต้องมีขั้นตอนและกระบวนการที่ต้องใช้เวลา
ส่วนเรื่องการคืนเงินประกัน 6.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่ต้องนำส่งคืนรัฐนั้นสำนักงานอัยการสูงสุดได้ตอบกลับมาแล้วว่าการดำเนินการของไทยคมไม่ถือว่ามีความผิดเพราะได้นำเงินไปจัดสร้างดาวเทียมใหม่ซึ่งจะเป็นการเพิ่มผลประโยชน์ให้แก่ภาครัฐ และประเด็นการสร้างดาวเทียมดวงใหม่ล่าสุดไทยคมได้ดำเนินการสร้างดาวเทียมไทยคม 6เพื่อสำรองดาวเทียมไทยคม 5 ซึ่งมีแผนจะยิงดาวเทียมในเดือนมิ.ย.นี้ ซึ่งถือเป็นการปฏิบัติตามสัญญาที่ต้องมีดาวเทียมสำรอง
นายไชยยันต์ ยังกล่าวว่า กระทรวงไอซีทีมีแผนจัดตั้งองค์กรใหม่ขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่กำกับดูแลธุรกิจไปรษณีย์ของประเทศไทย ภายใต้ชื่อ คณะกรรมการกิจการไปรษณีย์แห่งชาติ เพื่อรองรับการเปิดเสรีธุรกิจไปรษณีย์ ที่เปิดให้บริษัทต่างชาติเข้ามาทำธุรกิจในไทยได้
โดยการทำงานของคณะกรรมการที่จะจัดตั้งขึ้นนี้ จะทำหน้าที่คล้ายกับคณะกรรมการกิจกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ซึ่งมีหน้าที่หลักคือ การออกใบอนุญาต ออกกฎเกณฑ์ กฎระเบียบต่างๆ และต้องกำกับดูแลการทำหน้าที่ของบริษัท ไปรษณีย์ใหม่ที่จะจัดตั้งขึ้นด้วยเช่นเดียวกับ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จะต้องเข้ามาอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ คณะกรรมการกิจการไปรษณีย์แห่งชาติเช่นกัน
'คาดว่าจะใช้เวลา 3-5 ปี เพื่อดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการฯโดยจะต้องมีการจัดทำกฎหมายฉบับใหม่ขึ้นมารองรับคณะกรรมการฯ ชุดใหม่นี้ด้วย'
สำหรับสาเหตุที่ต้องเปิดเสรีกิจการไปรษณีย์นั้น เป็นเพราะว่าประเทศไทยอยู่ภายใต้ สหภาพสากลไปรษณีย์ ที่กำหนดให้ประเทศสมาชิกต้องเปิดเสรีทั้งหมด แต่ในเบื้องต้นยังไม่กำหนดว่าจะให้เปิดเสรีในปีไหน นอกจากนี้ที่ผ่านมาธุรกิจไปรษณีย์ในประเทศไทย ถูกผูกขาดโดย บริษัท ไปรษณีย์ไทย ที่ได้รับสิทธิ์ตามกฎหมายที่มีอยู่ตามพ.ร.บ.ไปรษณีย์ พ.ศ. 2477 และ พ.ร.บ.การสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2519 โดยสามารถจัดตั้งบริษัทได้ตามพรบ.ทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 และไม่เปิดให้บริษัทต่างชาติเข้ามาทำธุรกิจแต่อย่างใด
http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9560000030640&Keyword=%b4%d2%c7%e0%b7%d5%c2%c