สงสัยมานานแล้วนะครับ เรื่องการขานพระนาม โดยเฉพาะคำนำหน้า
ของไทย
ทำไมมีแค่สมัยรัตนโกสิททร์ที่ขานพระนามขึ้นด้วย "พระบาทสมเด็จพระ" สำหรับ K ที่ผ่านพิธีบรมราชาพิเษก (ฉัตร 9 ชั้น)
และ ขาน "สมเด็จพระ" กับ K ที่ยังไม่ผ่านพิธีบรมราชาพิเษก (ฉัตร 7 ชั้น รึปล่าว?)
แต่ในสมัยธนบุรี อยุธยา ถึงขาน k ที่ผ่านพิธีบรมฯ ว่า "สมเด็จพระ" และ Kที่ไม่ผ่านพิธีฯ ว่า "พระ" ล่ะครับ
และทำไมขุนวรวงศาธิราช ถึงไม่ใช้ "สมเด็จ" ทั้งที่ผ่านพิธีบรมฯ แล้ว หรือเป็นเพราะว่า ผู้บันทึก+ผู้ชำระพงศาวดาร มีอคติในที่มาของตำแหน่ง
แล้วไทยเริ่มขาน พระบาทสมเด็จพระ ตั้งแต่สมัยรัชกาลใด ? (ร.1 เลยรึปล่าว หรือมาเพิ่มทีหลัง)
ส่วนของประเทศข้างเคียงในสมัยก่อน ขานแค่ "พญา" "พระเจ้า" "เจ้ามหาชีวิต" "เจ้า" "เท้า" "ขุน" แค่นั้นรึปล่าว
แล้วกัมพูชาปัจจุบัน ขาน "พระกรุณาพระบาทสมเด็จพระ" ใช่ไหม เพราะอะไร?
การขานพระนามกษัตริย์ ไทย และประเทศข้างเคียง
ของไทย
ทำไมมีแค่สมัยรัตนโกสิททร์ที่ขานพระนามขึ้นด้วย "พระบาทสมเด็จพระ" สำหรับ K ที่ผ่านพิธีบรมราชาพิเษก (ฉัตร 9 ชั้น)
และ ขาน "สมเด็จพระ" กับ K ที่ยังไม่ผ่านพิธีบรมราชาพิเษก (ฉัตร 7 ชั้น รึปล่าว?)
แต่ในสมัยธนบุรี อยุธยา ถึงขาน k ที่ผ่านพิธีบรมฯ ว่า "สมเด็จพระ" และ Kที่ไม่ผ่านพิธีฯ ว่า "พระ" ล่ะครับ
และทำไมขุนวรวงศาธิราช ถึงไม่ใช้ "สมเด็จ" ทั้งที่ผ่านพิธีบรมฯ แล้ว หรือเป็นเพราะว่า ผู้บันทึก+ผู้ชำระพงศาวดาร มีอคติในที่มาของตำแหน่ง
แล้วไทยเริ่มขาน พระบาทสมเด็จพระ ตั้งแต่สมัยรัชกาลใด ? (ร.1 เลยรึปล่าว หรือมาเพิ่มทีหลัง)
ส่วนของประเทศข้างเคียงในสมัยก่อน ขานแค่ "พญา" "พระเจ้า" "เจ้ามหาชีวิต" "เจ้า" "เท้า" "ขุน" แค่นั้นรึปล่าว
แล้วกัมพูชาปัจจุบัน ขาน "พระกรุณาพระบาทสมเด็จพระ" ใช่ไหม เพราะอะไร?