(๑) ภวังคจิต --- บ้างให้ความหมายว่า จิตที่เป็นองค์แห่งภพ (ไม่ใช่ จิตเสมอด้วยภพ -เมื่อคำว่า สัมภวะ แปลว่า เสมอด้วยภพ)
เช่น
ภวังคจิต -- ภวังคะ หรือ ภะ-วัง-คะ --- ภว+องฺคะ แปลตามพยัญชนะว่า "องค์ของภพ" มักใช้รวมกับจิต เป็นภวังคจิต
(๒) ภวังคจิตเป็นจิตประเภทเดียวกันกับปฏิสนธิจิตซึ่งเป็นจิตขณะแรกของชาติหนึ่งๆ เมื่อปฏิสนธิจิตดับไปแล้ว ก็เป็นปัจจัยให้จิตดวงต่อไปเกิดขึ้น เป็นจิตขณะที่สอง ...
^^^^
ภวังคจิตแบบนี้ เนื่องกับ วิสุทธิมัคค์ - วิญญาณกิจ ๑๔ (จิต ๑๙ ประเภท) ---ซึ่ง ไม่ใช่ อธิบายพระไตรปิฎกตอนใดตอนหนึ่งโดยเฉพาะ
(๓) ภวังคจิต คือ จิตใต้สำนึกคือ ภวังคจิต หรือ ส่วนลึกที่สุดของจิต เป็นที่สะสมเรื่องราวกรรมในกาลนั้นมีทั้งกุศลกรรม อกุศลกรรม ...
(๔) ภวังคจิตกับสมาธิ --
ภวังคจิต มี 3 อย่าง คือ ภวังคบาท คือ จิตรวมวูบหายไปเดี๋ยวเดียวก็รู้สึกตัว เหมือนกับขณิกสมาธิ ภวังคจลนะ คือ จิตรวมวูบเข้าไป แล้วมีอาการส่ายไปมารับรู้อยู่ในนั้น แต่ไม่ส่ายออกมาข้างนอก ส่ายเรื่องของมันเอง เหมือนกับ อุปจารสมาธิ โดยมากส่ายไปในธรรม หรือ ธัมมวิจัย ภวังคปัจเฉทะ คือ จิตรวมวูบไปแล้วขาดจากอารมณ์ภายนอกหมดเงียบหายไปเลย คล้ายกับอัปปนาสมาธิ ซึ่งหายจากอารมณ์ภายนอกไป มีความรู้สึกอยู่ภายใน สว่างจ้าของมันอยู่ต่างหาก
(คัดลอกมา จากหนังสือ"อุโบสถศีลฯ")
โดย คุณอุบาสิกาคนหนึ่ง
(๕) ภวังคจิต --- คือ จิตประภัสสร ฯ
(๔) ภวังคจิต -- คือจิตที่ยังไม่ออกมารู้อารมณ์
ฯลฯ
เมื่อสอบทานกับ
จิตประภัสสร ที่ตรัสไว้ ๒ พระสูตร คือ
-เอก อํ ๒๐/๑๑-๑๒//๕๒-๕๓
กับ
-ติก อํ ๒๐/๓๒๙-๓๓๑/๕๔๒
^^^^
จิตประภัสสร ไม่ใช่ ภวังคจิต (แบบข้างบน) แต่เป็นอาการหนึ่งของ มรรคจิต....
จิตประภัสสร ไม่ใช่ ภวังคจิต แต่เป็นอาการหนึ่งของ มรรคจิต....
เช่น
ภวังคจิต -- ภวังคะ หรือ ภะ-วัง-คะ --- ภว+องฺคะ แปลตามพยัญชนะว่า "องค์ของภพ" มักใช้รวมกับจิต เป็นภวังคจิต
(๒) ภวังคจิตเป็นจิตประเภทเดียวกันกับปฏิสนธิจิตซึ่งเป็นจิตขณะแรกของชาติหนึ่งๆ เมื่อปฏิสนธิจิตดับไปแล้ว ก็เป็นปัจจัยให้จิตดวงต่อไปเกิดขึ้น เป็นจิตขณะที่สอง ...
^^^^
ภวังคจิตแบบนี้ เนื่องกับ วิสุทธิมัคค์ - วิญญาณกิจ ๑๔ (จิต ๑๙ ประเภท) ---ซึ่ง ไม่ใช่ อธิบายพระไตรปิฎกตอนใดตอนหนึ่งโดยเฉพาะ
(๓) ภวังคจิต คือ จิตใต้สำนึกคือ ภวังคจิต หรือ ส่วนลึกที่สุดของจิต เป็นที่สะสมเรื่องราวกรรมในกาลนั้นมีทั้งกุศลกรรม อกุศลกรรม ...
(๔) ภวังคจิตกับสมาธิ --
ภวังคจิต มี 3 อย่าง คือ ภวังคบาท คือ จิตรวมวูบหายไปเดี๋ยวเดียวก็รู้สึกตัว เหมือนกับขณิกสมาธิ ภวังคจลนะ คือ จิตรวมวูบเข้าไป แล้วมีอาการส่ายไปมารับรู้อยู่ในนั้น แต่ไม่ส่ายออกมาข้างนอก ส่ายเรื่องของมันเอง เหมือนกับ อุปจารสมาธิ โดยมากส่ายไปในธรรม หรือ ธัมมวิจัย ภวังคปัจเฉทะ คือ จิตรวมวูบไปแล้วขาดจากอารมณ์ภายนอกหมดเงียบหายไปเลย คล้ายกับอัปปนาสมาธิ ซึ่งหายจากอารมณ์ภายนอกไป มีความรู้สึกอยู่ภายใน สว่างจ้าของมันอยู่ต่างหาก
(คัดลอกมา จากหนังสือ"อุโบสถศีลฯ")
โดย คุณอุบาสิกาคนหนึ่ง
(๕) ภวังคจิต --- คือ จิตประภัสสร ฯ
(๔) ภวังคจิต -- คือจิตที่ยังไม่ออกมารู้อารมณ์
ฯลฯ
เมื่อสอบทานกับ
จิตประภัสสร ที่ตรัสไว้ ๒ พระสูตร คือ
-เอก อํ ๒๐/๑๑-๑๒//๕๒-๕๓
กับ
-ติก อํ ๒๐/๓๒๙-๓๓๑/๕๔๒
^^^^
จิตประภัสสร ไม่ใช่ ภวังคจิต (แบบข้างบน) แต่เป็นอาการหนึ่งของ มรรคจิต....