อัฏฐสตปริยายวรรคที่ ๓
สิวกสูตร
[๔๒๗] ................................................
เรากล่าวว่า เป็นความผิดของสมณพราหมณ์เหล่านั้น เวทนาบางอย่างมีเสมหะเป็น
สมุฏฐานก็มี ฯลฯ มีลมเป็นสมุฏฐานก็มี ฯลฯ มีร่วมกันเป็นสมุฏฐานก็มี ฯลฯ
เกิดแต่เปลี่ยนฤดูก็มี ฯลฯ เกิดแต่รักษาตัวไม่สม่ำเสมอก็มี ฯลฯ เกิดจากการถูก
ทำร้ายก็มี ฯลฯ เวทนาบางอย่างเกิดแต่ผลของกรรมก็มี ย่อมเกิดขึ้นในโลกนี้
ข้อที่เวทนาบางอย่างซึ่งเกิดแต่ผลของกรรมเกิดขึ้นในโลกนี้ บุคคลพึงทราบได้เอง
อย่างนี้ก็มี โลกสมมติว่าเป็นของจริงก็มี ในข้อนั้นสมณพราหมณ์เหล่าใดมีวาทะ
อย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้ว่า บุคคลนี้ได้เสวยสุข ทุกข์ หรืออทุกขมสุขอย่างใดอย่างหนึ่ง
สุข ทุกข์ หรืออทุกขมสุขทั้งมวลนั้น มีการกระทำไว้ในปางก่อนเป็นเหตุ ย่อม
แล่นไปสู่สิ่งที่รู้ด้วยตนเอง และแล่นไปสู่สิ่งที่สมมติกันว่าเป็นความจริงในโลก
เพราะฉะนั้นเรากล่าวว่า เป็นความผิดของสมณพราหมณ์เหล่านั้น ฯ
[๔๒๙] เรื่องดี ๑ เสมหะ ๑ ลม ๑ ดี เสมหะ ลม รวมกัน ๑
ฤดู ๑ รักษาตัวไม่สม่ำเสมอ ๑ ถูกทำร้าย ๑ ผลของกรรม ๑
เป็นที่ ๘ ฯ
จบสูตรที่ ๑
มหาวรรคที่ ๒
ติตถสูตร
[๕๐๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ลัทธิของเดียรถีย์ ๓ อย่างนี้ ถูกบัณฑิต
ไต่ถามซักไซ้ไล่เลียงเข้า ย่อมอ้างลัทธิสืบๆ มา ตั้งอยู่ในอกิริยทิฐิ ๓ อย่าง
เป็นไฉน คือ ๑. มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งมีวาทะอย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้ว่า สุข
ทุกข์ หรืออทุกขมสุขอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่บุคคลเสวยนั้น ล้วนแต่มีกรรม
ที่ได้ทำไว้แต่ก่อนเป็นเหตุ ๒. สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีวาทะอย่างนี้ มีทิฐิ
อย่างนี้ว่า สุข ทุกข์ หรืออทุกขมสุขอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่บุคคลเสวยนั้น ล้วน
แต่มีการสร้างสรรของอิสรชนเป็นเหตุ ๓. มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีวาทะ
อย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้ว่า สุข ทุกข์ หรืออทุกขมสุขอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่บุคคล
เสวยนั้น ล้วนแต่หาเหตุหาปัจจัยมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาสมณพราหมณ์
ทั้ง ๓ พวกนั้น พวกที่มีวาทะอย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้ว่า สุข ทุกข์ หรืออทุกขมสุข
อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่บุคคลเสวยนั้น ล้วนมีแต่กรรมที่ได้ทำไว้แต่ก่อนเป็นเหตุ
เราเข้าไปหาสมณพราหมณ์พวกนั้น แล้วถามอย่างนี้ว่า ได้ยินว่าท่านทั้งหลายมี
วาทะอย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้ว่า สุข ทุกข์ หรืออทุกขมสุขอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่
บุคคลเสวยนั้น ล้วนแต่มีกรรมที่ได้ทำไว้แต่ก่อนเป็นเหตุ จริงหรือ ถ้าสมณ
พราหมณ์พวกนั้นถูกเราถามอย่างนี้แล้ว ปฏิญญาว่าจริง เราก็กล่าวกะเขาว่า ถ้า
เช่นนั้น เพราะกรรมที่ได้ทำไว้แต่ก่อนเป็นเหตุ ท่านทั้งหลายจักต้องฆ่าสัตว์ จัก
ต้องลักทรัพย์ จักต้องประพฤติกรรมเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ จักต้องพูดเท็จ จัก
ต้องพูดคำส่อเสียด จักต้องพูดคำหยาบ จักต้องพูดคำเพ้อเจ้อ จักต้องมากไปด้วย
อภิชฌา จักต้องมีจิตพยาบาท จักต้องมีความเห็นผิด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อ
บุคคลยึดถือกรรมที่ได้ทำไว้แต่ก่อนโดยความเป็นแก่นสาร ความพอใจหรือความ
พยายามว่า กิจนี้ควรทำหรือว่ากิจนี้ไม่ควรทำ ย่อมจะมีไม่ได้ ก็เมื่อไม่ได้กรณียกิจ
และอกรณียกิจโดยจริงจังมั่นคงดังนี้ สมณวาทะที่ชอบธรรมเฉพาะตัว ย่อมจะ
สำเร็จไม่ได้ แก่ผู้มีสติฟั่นเฟือน ไร้เครื่องป้องกัน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรามีวาทะ
สำหรับข่มขี่ที่ชอบธรรม ในสมณพราหมณ์พวกนั้นผู้มีวาทะอย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้
อย่างนี้แลเป็นข้อแรก.............................................................งง
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผัสสายตนะ ๖(แดนเกิดแห่งการกระทบ) เหล่านี้ คือ อายตนะเป็นเหตุแห่ง
ผัสสะ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพราะอาศัยคำที่เราได้กล่าวไว้ว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมที่เราแสดงไว้ว่า ผัสสายตนะ ๖ คนอื่นข่มขี่ไม่ได้ ไม่
มัวหมอง ไม่ถูกติ ไม่ถูกคัดค้านโดยสมณพราหมณ์ผู้รู้ ฉะนั้น เราจึงได้กล่าวไว้
ดังนั้น ก็คำว่า ธรรมที่เราแสดงไว้ว่า มโนปวิจาร ๑๘ (ที่เที่ยวของจิต) คนอื่นข่มขี่ไม่ได้ ไม่
มัวหมอง ไม่ถูกติ ไม่ถูกคัดค้านโดยสมณพราหมณ์ผู้รู้ นี้เรากล่าวไว้แล้วเช่นนี้
แล เพราะอาศัยอะไรจึงได้กล่าวไว้ดังนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลเห็นรูปด้วย
ตาแล้ว ย่อมเข้าไปไตร่ตรองรูปอันเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส เข้าไปไตร่ตรองรูปอัน
เป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส เข้าไปไตร่ตรองรูปอันเป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา ฟังเสียงด้วย
หู ... ดมกลิ่นด้วยจมูก ... ลิ้มรสด้วยลิ้น ... ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ... รู้แจ้ง
ธรรมารมณ์ด้วยใจแล้ว ย่อมเข้าไปไตร่ตรองธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส เข้าไป
ไตร่ตรองธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส ย่อมเข้าไปไตร่ตรองธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่ง
อุเบกขา เพราะอาศัยคำที่เราได้กล่าวไว้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมที่เราแสดงไว้
ว่า มโนปวิจาร ๑๘ คนอื่นข่มขี่ไม่ได้ ไม่มัวหมอง ไม่ถูกติ ไม่ถูกคัดค้านโดย
สมณพราหมณ์ผู้รู้ ฉะนั้น เราจึงได้กล่าวไว้ดังนี้
เรื่องของกรรม(เก่า) กายนี้
สิวกสูตร
[๔๒๗] ................................................
เรากล่าวว่า เป็นความผิดของสมณพราหมณ์เหล่านั้น เวทนาบางอย่างมีเสมหะเป็น
สมุฏฐานก็มี ฯลฯ มีลมเป็นสมุฏฐานก็มี ฯลฯ มีร่วมกันเป็นสมุฏฐานก็มี ฯลฯ
เกิดแต่เปลี่ยนฤดูก็มี ฯลฯ เกิดแต่รักษาตัวไม่สม่ำเสมอก็มี ฯลฯ เกิดจากการถูก
ทำร้ายก็มี ฯลฯ เวทนาบางอย่างเกิดแต่ผลของกรรมก็มี ย่อมเกิดขึ้นในโลกนี้
ข้อที่เวทนาบางอย่างซึ่งเกิดแต่ผลของกรรมเกิดขึ้นในโลกนี้ บุคคลพึงทราบได้เอง
อย่างนี้ก็มี โลกสมมติว่าเป็นของจริงก็มี ในข้อนั้นสมณพราหมณ์เหล่าใดมีวาทะ
อย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้ว่า บุคคลนี้ได้เสวยสุข ทุกข์ หรืออทุกขมสุขอย่างใดอย่างหนึ่ง
สุข ทุกข์ หรืออทุกขมสุขทั้งมวลนั้น มีการกระทำไว้ในปางก่อนเป็นเหตุ ย่อม
แล่นไปสู่สิ่งที่รู้ด้วยตนเอง และแล่นไปสู่สิ่งที่สมมติกันว่าเป็นความจริงในโลก
เพราะฉะนั้นเรากล่าวว่า เป็นความผิดของสมณพราหมณ์เหล่านั้น ฯ
[๔๒๙] เรื่องดี ๑ เสมหะ ๑ ลม ๑ ดี เสมหะ ลม รวมกัน ๑
ฤดู ๑ รักษาตัวไม่สม่ำเสมอ ๑ ถูกทำร้าย ๑ ผลของกรรม ๑
เป็นที่ ๘ ฯ
จบสูตรที่ ๑
มหาวรรคที่ ๒
ติตถสูตร
[๕๐๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ลัทธิของเดียรถีย์ ๓ อย่างนี้ ถูกบัณฑิต
ไต่ถามซักไซ้ไล่เลียงเข้า ย่อมอ้างลัทธิสืบๆ มา ตั้งอยู่ในอกิริยทิฐิ ๓ อย่าง
เป็นไฉน คือ ๑. มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งมีวาทะอย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้ว่า สุข
ทุกข์ หรืออทุกขมสุขอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่บุคคลเสวยนั้น ล้วนแต่มีกรรม
ที่ได้ทำไว้แต่ก่อนเป็นเหตุ ๒. สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีวาทะอย่างนี้ มีทิฐิ
อย่างนี้ว่า สุข ทุกข์ หรืออทุกขมสุขอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่บุคคลเสวยนั้น ล้วน
แต่มีการสร้างสรรของอิสรชนเป็นเหตุ ๓. มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีวาทะ
อย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้ว่า สุข ทุกข์ หรืออทุกขมสุขอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่บุคคล
เสวยนั้น ล้วนแต่หาเหตุหาปัจจัยมิได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาสมณพราหมณ์
ทั้ง ๓ พวกนั้น พวกที่มีวาทะอย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้ว่า สุข ทุกข์ หรืออทุกขมสุข
อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่บุคคลเสวยนั้น ล้วนมีแต่กรรมที่ได้ทำไว้แต่ก่อนเป็นเหตุ
เราเข้าไปหาสมณพราหมณ์พวกนั้น แล้วถามอย่างนี้ว่า ได้ยินว่าท่านทั้งหลายมี
วาทะอย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้ว่า สุข ทุกข์ หรืออทุกขมสุขอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่
บุคคลเสวยนั้น ล้วนแต่มีกรรมที่ได้ทำไว้แต่ก่อนเป็นเหตุ จริงหรือ ถ้าสมณ
พราหมณ์พวกนั้นถูกเราถามอย่างนี้แล้ว ปฏิญญาว่าจริง เราก็กล่าวกะเขาว่า ถ้า
เช่นนั้น เพราะกรรมที่ได้ทำไว้แต่ก่อนเป็นเหตุ ท่านทั้งหลายจักต้องฆ่าสัตว์ จัก
ต้องลักทรัพย์ จักต้องประพฤติกรรมเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ จักต้องพูดเท็จ จัก
ต้องพูดคำส่อเสียด จักต้องพูดคำหยาบ จักต้องพูดคำเพ้อเจ้อ จักต้องมากไปด้วย
อภิชฌา จักต้องมีจิตพยาบาท จักต้องมีความเห็นผิด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เมื่อ
บุคคลยึดถือกรรมที่ได้ทำไว้แต่ก่อนโดยความเป็นแก่นสาร ความพอใจหรือความ
พยายามว่า กิจนี้ควรทำหรือว่ากิจนี้ไม่ควรทำ ย่อมจะมีไม่ได้ ก็เมื่อไม่ได้กรณียกิจ
และอกรณียกิจโดยจริงจังมั่นคงดังนี้ สมณวาทะที่ชอบธรรมเฉพาะตัว ย่อมจะ
สำเร็จไม่ได้ แก่ผู้มีสติฟั่นเฟือน ไร้เครื่องป้องกัน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรามีวาทะ
สำหรับข่มขี่ที่ชอบธรรม ในสมณพราหมณ์พวกนั้นผู้มีวาทะอย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้
อย่างนี้แลเป็นข้อแรก.............................................................งง
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผัสสายตนะ ๖(แดนเกิดแห่งการกระทบ) เหล่านี้ คือ อายตนะเป็นเหตุแห่ง
ผัสสะ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพราะอาศัยคำที่เราได้กล่าวไว้ว่า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมที่เราแสดงไว้ว่า ผัสสายตนะ ๖ คนอื่นข่มขี่ไม่ได้ ไม่
มัวหมอง ไม่ถูกติ ไม่ถูกคัดค้านโดยสมณพราหมณ์ผู้รู้ ฉะนั้น เราจึงได้กล่าวไว้
ดังนั้น ก็คำว่า ธรรมที่เราแสดงไว้ว่า มโนปวิจาร ๑๘ (ที่เที่ยวของจิต) คนอื่นข่มขี่ไม่ได้ ไม่
มัวหมอง ไม่ถูกติ ไม่ถูกคัดค้านโดยสมณพราหมณ์ผู้รู้ นี้เรากล่าวไว้แล้วเช่นนี้
แล เพราะอาศัยอะไรจึงได้กล่าวไว้ดังนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลเห็นรูปด้วย
ตาแล้ว ย่อมเข้าไปไตร่ตรองรูปอันเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส เข้าไปไตร่ตรองรูปอัน
เป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส เข้าไปไตร่ตรองรูปอันเป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา ฟังเสียงด้วย
หู ... ดมกลิ่นด้วยจมูก ... ลิ้มรสด้วยลิ้น ... ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ... รู้แจ้ง
ธรรมารมณ์ด้วยใจแล้ว ย่อมเข้าไปไตร่ตรองธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส เข้าไป
ไตร่ตรองธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส ย่อมเข้าไปไตร่ตรองธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่ง
อุเบกขา เพราะอาศัยคำที่เราได้กล่าวไว้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมที่เราแสดงไว้
ว่า มโนปวิจาร ๑๘ คนอื่นข่มขี่ไม่ได้ ไม่มัวหมอง ไม่ถูกติ ไม่ถูกคัดค้านโดย
สมณพราหมณ์ผู้รู้ ฉะนั้น เราจึงได้กล่าวไว้ดังนี้