ที่มา:
http://www.chiangmaifx.com/article-by-rojer/trading-psychology.html
บทความ by Rojer CmFx บทความ เรื่อง Trading Psychology
จากคำถามที่มักจะใช้กันในการประเมินการเสพติดแอลกอฮอล์ หากเปลี่ยนคำถามทั้งหลายจาก "การดื่ม" เป็น "การเทรด" ก็จะได้ดังนี้
1b.คุณพบว่าการเทรดของคุณ นำไปสู่เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์
2b.คุณเคยรู้สึกผิดกับการเทรดของคุณ
3b.คุณต้องการจะเทรดในปริมาณที่มากเกินจุดที่ทำให้รู้สึกดี
4b.คุณรู้สึกว่าตัวเองเปลี่ยนไป เมื่อเทรดมากเกินขนาดพอดี
5b.คุณรู้สึกว่า มันยากที่จะหยุดพักการเทรด, แม้ว่าลึกๆแล้วจะรู้ว่า ตรงไหนที่จะเทรดพอดีและควรหยุดตรงนั้น
6b.คุณเทรดเพราะมันทำให้คุณรู้สึกดี รู้สึกว่าคุณมีค่าอีกครั้ง
7b.คุณไม่สามารถควบคุมได้ว่าคุณควรจะเทรดเท่าไหร่ในบางครั้ง
8b.คุณรู้สึกโกรธถ้ามีคนถามเกี่ยวกับการเทรดของคุณ
9b.คุณสัญญากับตัวเองว่า จะเทรดปริมาณแค่นั้น เพื่อให้ได้เทรด, แต่สุดท้ายก็เทรดมากกว่าที่สัญญาไว้
10b.คุณจะเทรดทุกครั้งที่มีจังหวะให้เทรด แม้ว่าความจริงแล้วไม่ควรเทรดในสถานการณ์นั้น
ส่วนเทรดเดอร์ที่เสพติดการเทรดจะมี "ความหลง" ในการเทรด คือคิดถึงการเทรดในลักษณะอยากจะ"ทำ" เพราะมันตื่นเต้น ติดใจในการได้เทรด, เทรดเดอร์ที่อยู่ในภาวะเสพติด จะไม่ยอมบริหารความเสี่ยง จะใช้ความเสี่ยงที่สูงมาก เพราะความเสี่ยงและความตื่นเต้น คือสิ่งที่พวกเขากำลังมองหา ไม่ได้ทำเพราะเป็นหน้าที่, พวกเขาจะไม่ยอมหยุดเทรด แม้ว่าจะเสียเงิน เพราะเป้าหมายของพวกเขาคือการ "ได้เทรด" ไม่ใช่"กำไร", ผู้เสพติด จะมีวงจรที่วนอยู่ระหว่าง รู้จักผิดชอบชั่วดี กับ ขาดความรู้สึกผิดแล้วเข้ากระทำ เทรดเดอร์ที่ดีจะเทรดอย่างสม่ำเสมอ, ผู้เสพติดการเทรด จะเทรดอย่างเยอะเกินพอดี
เมื่อคุณแยกออกระหว่างสองประเภทนี้แล้วก็ให้ทำในสิ่งที่ควรทำ ก่อนที่การเสพติดจะทำลายชีวิตการเทรดของคุณ และ ผู้ที่ฝากชีวิตไว้กับคุณ, คุณเปลี่ยนแปลงมันได้ ! จงรักษาสมดุลระหว่าง การเทรด กับ ความสุขในชีวิตเถอะ !
ต้นฉบับ Credit : Dr.Brett N. Steenbarger / www.brettsteenbarger.com
บทความ การเสพติดการเทรด by Rojer CmFx
บทความ by Rojer CmFx บทความ เรื่อง Trading Psychology
จากคำถามที่มักจะใช้กันในการประเมินการเสพติดแอลกอฮอล์ หากเปลี่ยนคำถามทั้งหลายจาก "การดื่ม" เป็น "การเทรด" ก็จะได้ดังนี้
1b.คุณพบว่าการเทรดของคุณ นำไปสู่เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์
2b.คุณเคยรู้สึกผิดกับการเทรดของคุณ
3b.คุณต้องการจะเทรดในปริมาณที่มากเกินจุดที่ทำให้รู้สึกดี
4b.คุณรู้สึกว่าตัวเองเปลี่ยนไป เมื่อเทรดมากเกินขนาดพอดี
5b.คุณรู้สึกว่า มันยากที่จะหยุดพักการเทรด, แม้ว่าลึกๆแล้วจะรู้ว่า ตรงไหนที่จะเทรดพอดีและควรหยุดตรงนั้น
6b.คุณเทรดเพราะมันทำให้คุณรู้สึกดี รู้สึกว่าคุณมีค่าอีกครั้ง
7b.คุณไม่สามารถควบคุมได้ว่าคุณควรจะเทรดเท่าไหร่ในบางครั้ง
8b.คุณรู้สึกโกรธถ้ามีคนถามเกี่ยวกับการเทรดของคุณ
9b.คุณสัญญากับตัวเองว่า จะเทรดปริมาณแค่นั้น เพื่อให้ได้เทรด, แต่สุดท้ายก็เทรดมากกว่าที่สัญญาไว้
10b.คุณจะเทรดทุกครั้งที่มีจังหวะให้เทรด แม้ว่าความจริงแล้วไม่ควรเทรดในสถานการณ์นั้น
ส่วนเทรดเดอร์ที่เสพติดการเทรดจะมี "ความหลง" ในการเทรด คือคิดถึงการเทรดในลักษณะอยากจะ"ทำ" เพราะมันตื่นเต้น ติดใจในการได้เทรด, เทรดเดอร์ที่อยู่ในภาวะเสพติด จะไม่ยอมบริหารความเสี่ยง จะใช้ความเสี่ยงที่สูงมาก เพราะความเสี่ยงและความตื่นเต้น คือสิ่งที่พวกเขากำลังมองหา ไม่ได้ทำเพราะเป็นหน้าที่, พวกเขาจะไม่ยอมหยุดเทรด แม้ว่าจะเสียเงิน เพราะเป้าหมายของพวกเขาคือการ "ได้เทรด" ไม่ใช่"กำไร", ผู้เสพติด จะมีวงจรที่วนอยู่ระหว่าง รู้จักผิดชอบชั่วดี กับ ขาดความรู้สึกผิดแล้วเข้ากระทำ เทรดเดอร์ที่ดีจะเทรดอย่างสม่ำเสมอ, ผู้เสพติดการเทรด จะเทรดอย่างเยอะเกินพอดี
เมื่อคุณแยกออกระหว่างสองประเภทนี้แล้วก็ให้ทำในสิ่งที่ควรทำ ก่อนที่การเสพติดจะทำลายชีวิตการเทรดของคุณ และ ผู้ที่ฝากชีวิตไว้กับคุณ, คุณเปลี่ยนแปลงมันได้ ! จงรักษาสมดุลระหว่าง การเทรด กับ ความสุขในชีวิตเถอะ !
ต้นฉบับ Credit : Dr.Brett N. Steenbarger / www.brettsteenbarger.com