กระบวนการ การเทรดหุ้น
ภาพรวมของการเทรด (Trading Overview)
0. ต้องมีความขยัน ทุ่มเท ใส่ใจ ติดตาม สม่ำเสมอ และเรียนรู้ตลอดเวลา
1. ตั้งเป้าหมาย การเทรด(Trading Goal)
2. เลือกสไตล์การเทรด
3. การจัดการกับความเสี่ยง และ การจัดการเงิน
4. กลยุทธ์การเทรด Trade Setups และ การเข้าซื้อหุ้น(Trade Trigger)
5. กลยุทธ์การขาย
6. ก่อนตลาดเปิดต้องทำอะไรบ้าง
7. หลังตลาดปิดต้องทำอะไรบ้าง
8. ระเบียบวินัยที่เราต้องรักษาและทำตาม
9. กฏทองของการเทรด ตามแบบฉบับของตัวเราเอง
มาเริ่มกันครับ
ข้อ 0 คงไม่ต้องอธิบายไรมากครับ รู้ๆกันอยู่ครับ 555
ข้อ 1 ตั้งเป้าหมาย การเทรด(Trading Goal)
เหมือนเป็นแผนที่ระยะยาวของเราครับ ว่าเราต้องการอะไร จากการเทรด ในอีก 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี 3 ปี 5 ปี 10 ปี เป้าหมายคือความต้องการของแต่ละคนครับ เป้าหมายใครก็เป้าหมายมันครับ เช่นผมตั้งเป้าว่า 1 วันผมต้องได้ 0.5% พอร์ต ,1 สัปดาห์ต้องได้ 2.5% พอร์ต ,1 ปี ต้องได้ 100% พอร์ต ประมาณนี้นะครับในการตั้ง Goal สำหรับการเทรด
ข้อ 2 เลือกสไตล์การเทรด(Trading Style)
เราต้องเลือกครับว่าเราจะเทรดแบบไหน แนะนำว่าให้เลือกสไตล์ที่เข้ากับลักษณะนิสัยและการใช้ชีวิตครับ หรือจะใช้ลักษณะนิสัยและการใช้ชีวิตในการเลือกสไตล์การเทรดก็ได้ครับ เช่น สมมติ นาย ต เลือกสไตล์ Daytrade เพราะในนาย ต เห็นคนอื่นเขาเล่นเดย์เทรดละเขาได้กำไร แต่โดยลักษณะนิสัยของนาย ต นั้นเล่นเดย์เทรดไม่ได้ และรูปแบบการใช้ชีวิตก็ไม่เอื้ออำนวยให้นาย ต ในการเทรดแบบเดย์เทรด นาย ต ก็ต้องปรับเปลี่ยนสไตล์การเทรดใหม่ให้เข้ากับลักษณะนิสัยและรูปแบบการใช้ชีวิต, มาดูนาย ท กันบ้าง นาย ท รู้ตัวเองว่า มีลักษณะนิสัย ใจเยน อดทนรอได้ รู้จักพอใจในสิ่งที่ตัวเองมี และมีรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบพนักงานกินเงินเดือนไม่ค่อยมีเวลาดูหุ้น นาย ท จึงเลือกสไตล์ Swing Trade เพราะว่า นาย ท รู้ตัวเองว่า สามารถรอเทรดหุ้นเป็นรอบๆได้ และไม่ต้องดู ไม่ต้องเฝ้าหุ้นตลอดเวลาก็ได้
ข้อ 3 การจัดการกับความเสี่ยง(Risk Management) และ การจัดการเงิน(Money Management)
การจัดการความเสี่ยง(Risk Management) ผมแยกเป็น ความเสี่ยงทั่วไปและความเฉพาะ(ความเสี่ยงที่เกิดจากการเทรด)
ความเสี่ยงทั่วไป เช่น ตลาดหุ้น Panic sell เพราะเกิดสงครามโลก หรือ ความเสี่ยงที่เกิดจากโบรคเกอร์ที่ใช้อยู่ สตรีมมิ่งเกิดล่มเทรดไม่ได้ หรือ Internet ที่คุณใช้บริการอยู่เกิดล่มสัญญาณหาย หรือ คุณติดประชุมอยู่แล้วหุ้นเกิดร่วง หรือ ลูกค้าเข้ามาซื้อของร้านคุณตอนที่คุณกำลังเทรดอยู่ และอื่น ถ้าเกิดเหตุการณ์แบบนี้ขึ้นมาจริงๆ คุณจะทำอย่างไร??? ถ้าคุณตอบได้คุณก็จัดการความเสี่ยงทั่วไปได้ละครับ
ความเสี่ยงเฉพาะ คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเทรด เช่น การขาดทุนจากกลยุทธ์การเทรดที่เลือก หรือ ความน่าจะเป็นในแต่ละครั้งของการเทรดว่าจะมีความสำเร็จมากน้อยแค่ไหน
ไว้ว่างๆๆมาปั่นต่อครับ
Elite Set Traders'59 (EST'59) 20/5/59 ตอน กระบวนการ การเทรดหุ้น
ภาพรวมของการเทรด (Trading Overview)
0. ต้องมีความขยัน ทุ่มเท ใส่ใจ ติดตาม สม่ำเสมอ และเรียนรู้ตลอดเวลา
1. ตั้งเป้าหมาย การเทรด(Trading Goal)
2. เลือกสไตล์การเทรด
3. การจัดการกับความเสี่ยง และ การจัดการเงิน
4. กลยุทธ์การเทรด Trade Setups และ การเข้าซื้อหุ้น(Trade Trigger)
5. กลยุทธ์การขาย
6. ก่อนตลาดเปิดต้องทำอะไรบ้าง
7. หลังตลาดปิดต้องทำอะไรบ้าง
8. ระเบียบวินัยที่เราต้องรักษาและทำตาม
9. กฏทองของการเทรด ตามแบบฉบับของตัวเราเอง
มาเริ่มกันครับ
ข้อ 0 คงไม่ต้องอธิบายไรมากครับ รู้ๆกันอยู่ครับ 555
ข้อ 1 ตั้งเป้าหมาย การเทรด(Trading Goal)
เหมือนเป็นแผนที่ระยะยาวของเราครับ ว่าเราต้องการอะไร จากการเทรด ในอีก 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี 3 ปี 5 ปี 10 ปี เป้าหมายคือความต้องการของแต่ละคนครับ เป้าหมายใครก็เป้าหมายมันครับ เช่นผมตั้งเป้าว่า 1 วันผมต้องได้ 0.5% พอร์ต ,1 สัปดาห์ต้องได้ 2.5% พอร์ต ,1 ปี ต้องได้ 100% พอร์ต ประมาณนี้นะครับในการตั้ง Goal สำหรับการเทรด
ข้อ 2 เลือกสไตล์การเทรด(Trading Style)
เราต้องเลือกครับว่าเราจะเทรดแบบไหน แนะนำว่าให้เลือกสไตล์ที่เข้ากับลักษณะนิสัยและการใช้ชีวิตครับ หรือจะใช้ลักษณะนิสัยและการใช้ชีวิตในการเลือกสไตล์การเทรดก็ได้ครับ เช่น สมมติ นาย ต เลือกสไตล์ Daytrade เพราะในนาย ต เห็นคนอื่นเขาเล่นเดย์เทรดละเขาได้กำไร แต่โดยลักษณะนิสัยของนาย ต นั้นเล่นเดย์เทรดไม่ได้ และรูปแบบการใช้ชีวิตก็ไม่เอื้ออำนวยให้นาย ต ในการเทรดแบบเดย์เทรด นาย ต ก็ต้องปรับเปลี่ยนสไตล์การเทรดใหม่ให้เข้ากับลักษณะนิสัยและรูปแบบการใช้ชีวิต, มาดูนาย ท กันบ้าง นาย ท รู้ตัวเองว่า มีลักษณะนิสัย ใจเยน อดทนรอได้ รู้จักพอใจในสิ่งที่ตัวเองมี และมีรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบพนักงานกินเงินเดือนไม่ค่อยมีเวลาดูหุ้น นาย ท จึงเลือกสไตล์ Swing Trade เพราะว่า นาย ท รู้ตัวเองว่า สามารถรอเทรดหุ้นเป็นรอบๆได้ และไม่ต้องดู ไม่ต้องเฝ้าหุ้นตลอดเวลาก็ได้
ข้อ 3 การจัดการกับความเสี่ยง(Risk Management) และ การจัดการเงิน(Money Management)
การจัดการความเสี่ยง(Risk Management) ผมแยกเป็น ความเสี่ยงทั่วไปและความเฉพาะ(ความเสี่ยงที่เกิดจากการเทรด)
ความเสี่ยงทั่วไป เช่น ตลาดหุ้น Panic sell เพราะเกิดสงครามโลก หรือ ความเสี่ยงที่เกิดจากโบรคเกอร์ที่ใช้อยู่ สตรีมมิ่งเกิดล่มเทรดไม่ได้ หรือ Internet ที่คุณใช้บริการอยู่เกิดล่มสัญญาณหาย หรือ คุณติดประชุมอยู่แล้วหุ้นเกิดร่วง หรือ ลูกค้าเข้ามาซื้อของร้านคุณตอนที่คุณกำลังเทรดอยู่ และอื่น ถ้าเกิดเหตุการณ์แบบนี้ขึ้นมาจริงๆ คุณจะทำอย่างไร??? ถ้าคุณตอบได้คุณก็จัดการความเสี่ยงทั่วไปได้ละครับ
ความเสี่ยงเฉพาะ คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเทรด เช่น การขาดทุนจากกลยุทธ์การเทรดที่เลือก หรือ ความน่าจะเป็นในแต่ละครั้งของการเทรดว่าจะมีความสำเร็จมากน้อยแค่ไหน
ไว้ว่างๆๆมาปั่นต่อครับ