สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 10
สิบ (101)
ร้อย (102)
พัน (103)
หมื่น (104)
แสน (105)
โกฏิ (107)
ปโกฏิ (1014)
โกฏิปโกฏิ (1021)
นหุต (1028)
นินนหุต (1035)
อักโขเภนี (1042)
พินทุ (1049)
อพุทะ (1056)
นิระพุทะ (1063)
อหหะ (1070)
อพพะ (1077)
อฏฏะ (1084)
โสคันธิกะ (1091)
อุปละ (1098)
กมุทะ (10105)
ปทุมะ (10112)
ปุณฑริกะ (10119 )
อกถาน (10126 )
มหากถาน (10133)
อสงไขย (10140)
อสงไขย มี 7 อสงไขย คือ
1. นันทอสงไขย
2. สุนันทอสงไขย
3. ปฐวีอสงไขย
4. มัณฑอสงไขย
5. ธรณีอสงไขย
6. สาครอสงไขย
7. บุณฑริกอสงไขย
การคำนวณความยาวนาน
1.สมมุติมีกล่องใบหนึ่ง กว้าง 100 โยชน์ ยาว 100โยชน์ และ สูง 100 โยชน์ ในเวลา 100 ปี ให้เอาเมล็ดผักกาด 1 เมล็ด ใส่ลงไปในกล่องนั้น ทำอย่างนี้จนเมล็ดผักกาดนั้นเต็มเสมอเรียบปากกล่อง นั้นละจึงเท่ากับ 1 กัป
2.(บางตำรากล่าวว่า กว้าง 1 โยชน์ ยาว 1 โยชน์ สูง 1 โยชน์) วิเคราะห์คำนวณ 1 โยชน์ = 16 กิโลเมตร ดังนั้นกล่องใบนี้มีปริมาตร = 1600X1600X1600 = 4,096,000,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร ประมานว่า เมล็ดผักกาด มีขนาด .5 มิลลิเมตร 1 กิโลเมตรเทียบเป็นมิลลิเมตรได้ดังนี้ 10X100X1000 = 1,000,000 มิลลิเมตรจะได้ 1 กิโลเมตรใช้เมล็ดผักกาดเรียงกัน = (1,000,000)/0.5 = 2,000,000 เมล็ด
3.ดังนั้น 1600 กิโลเมตรใช้เมล็ดผักกาดเรียงกัน = (1600X2,000,000 = 3,200,000,000) เมล็ด ถ้าเป็นปริมาตร คือ (กว้าง x ยาว x สูง) ต้องใช้เมล็ดผักกาดทั้งหมด คือ (3,200,000,000X3,200,000,000X3,200,000,000 = 32,768,000,000,000,000,000,000,000,000 เมล็ด)
4.ใน 100 ปี ใส่เมล็ดผักเพียง 1 เมล็ด ดังนั้นต้องใช้เวลาทั้งหมดคือ 32,768,000,000,000,000,000,000,000,000X100 =3,276,800,000,000,000,000,000,000,000,000 ปี
5.จึงได้เวลา 1 กัป ประมาณ สามล้านสองแสนเจ็ดหมื่นหกพันแปดร้อยล้านล้านล้านล้าน ปีประมาณ 3.3 X 10 ยกกำลัง 30 ปี
6.1 อสงไขยมีกี่ปีนั้นเป็นจำนวนที่แน่นอน คือ 1 ตามด้วยเลข 0 จำนวน 140 ตัว หรือ 1 X 10 ยกกำลัง140 ปี
7.อายุของโลกตามหลักธรณีวิทยา โลกเกิดมาประมาณ 4,500,000,000 ปี ( 4.5 x 10 ยกกำลัง 9 ) แสดงว่าตั้งแต่โลกฟอร์มตัวจากกลุ่มก๊าซ ผ่านยุคต่างๆมา อายุยังไม่ถึง กัลป์ หรือ อสงไขย เลย ยังอีกยาวนานมาก
References:
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B8%A2
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=44603b35801e146f
ร้อย (102)
พัน (103)
หมื่น (104)
แสน (105)
โกฏิ (107)
ปโกฏิ (1014)
โกฏิปโกฏิ (1021)
นหุต (1028)
นินนหุต (1035)
อักโขเภนี (1042)
พินทุ (1049)
อพุทะ (1056)
นิระพุทะ (1063)
อหหะ (1070)
อพพะ (1077)
อฏฏะ (1084)
โสคันธิกะ (1091)
อุปละ (1098)
กมุทะ (10105)
ปทุมะ (10112)
ปุณฑริกะ (10119 )
อกถาน (10126 )
มหากถาน (10133)
อสงไขย (10140)
อสงไขย มี 7 อสงไขย คือ
1. นันทอสงไขย
2. สุนันทอสงไขย
3. ปฐวีอสงไขย
4. มัณฑอสงไขย
5. ธรณีอสงไขย
6. สาครอสงไขย
7. บุณฑริกอสงไขย
การคำนวณความยาวนาน
1.สมมุติมีกล่องใบหนึ่ง กว้าง 100 โยชน์ ยาว 100โยชน์ และ สูง 100 โยชน์ ในเวลา 100 ปี ให้เอาเมล็ดผักกาด 1 เมล็ด ใส่ลงไปในกล่องนั้น ทำอย่างนี้จนเมล็ดผักกาดนั้นเต็มเสมอเรียบปากกล่อง นั้นละจึงเท่ากับ 1 กัป
2.(บางตำรากล่าวว่า กว้าง 1 โยชน์ ยาว 1 โยชน์ สูง 1 โยชน์) วิเคราะห์คำนวณ 1 โยชน์ = 16 กิโลเมตร ดังนั้นกล่องใบนี้มีปริมาตร = 1600X1600X1600 = 4,096,000,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร ประมานว่า เมล็ดผักกาด มีขนาด .5 มิลลิเมตร 1 กิโลเมตรเทียบเป็นมิลลิเมตรได้ดังนี้ 10X100X1000 = 1,000,000 มิลลิเมตรจะได้ 1 กิโลเมตรใช้เมล็ดผักกาดเรียงกัน = (1,000,000)/0.5 = 2,000,000 เมล็ด
3.ดังนั้น 1600 กิโลเมตรใช้เมล็ดผักกาดเรียงกัน = (1600X2,000,000 = 3,200,000,000) เมล็ด ถ้าเป็นปริมาตร คือ (กว้าง x ยาว x สูง) ต้องใช้เมล็ดผักกาดทั้งหมด คือ (3,200,000,000X3,200,000,000X3,200,000,000 = 32,768,000,000,000,000,000,000,000,000 เมล็ด)
4.ใน 100 ปี ใส่เมล็ดผักเพียง 1 เมล็ด ดังนั้นต้องใช้เวลาทั้งหมดคือ 32,768,000,000,000,000,000,000,000,000X100 =3,276,800,000,000,000,000,000,000,000,000 ปี
5.จึงได้เวลา 1 กัป ประมาณ สามล้านสองแสนเจ็ดหมื่นหกพันแปดร้อยล้านล้านล้านล้าน ปีประมาณ 3.3 X 10 ยกกำลัง 30 ปี
6.1 อสงไขยมีกี่ปีนั้นเป็นจำนวนที่แน่นอน คือ 1 ตามด้วยเลข 0 จำนวน 140 ตัว หรือ 1 X 10 ยกกำลัง140 ปี
7.อายุของโลกตามหลักธรณีวิทยา โลกเกิดมาประมาณ 4,500,000,000 ปี ( 4.5 x 10 ยกกำลัง 9 ) แสดงว่าตั้งแต่โลกฟอร์มตัวจากกลุ่มก๊าซ ผ่านยุคต่างๆมา อายุยังไม่ถึง กัลป์ หรือ อสงไขย เลย ยังอีกยาวนานมาก
References:
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B8%A2
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=44603b35801e146f
แสดงความคิดเห็น
การนับเลขแบบไทย
เท่าที่ผมเคยเรียนผ่านมา ให้ใช้หน่วยใหญ่ที่สุดเท่าที่มีก่อน เช่น
50000000000 จะอ่านว่า 5 หมื่นล้าน ไม่ใช่ 50 พันล้าน ฯลฯ
หรือว่าจริงๆแล้วมันเขียนได้ทั้งสองแบบครับ อย่างในเพจนี้ก็ใช้แบบ 110.1 พันล้าน
http://media.thaigov.go.th/pageconfig/viewcontent/viewcontent1.asp?pageid=471&directory=1815&contents=49446