ได้รับจดหมายข่าวเดือนมกราคมนี้ จากธรรมสถานจุฬาฯ แจ้งไว้ว่า 23 มค จะมีการสนทนาธรรมเรื่องอานาปานสติคือสติปัฏฐานสี่ หัวข้อเคล็ด(ไม่)ลับ ของการเจริญหมวดกายาฯ
สอบถามฯ ได้ความย่อๆ ดังนี้
การสนทนาด้วยบรรยายด้วย ว่าด้วย อานาปานสติ ๑๖ ที่เนื่องกับ พระสูตร เช่น
(๑) อินทรีย์สังวร เป็นอุปกรณ์แก่ สัมมาวายามะ
สี ที ๙/๙๓/๑๒๒
^^^^
"นำเสนอ" ว่า ..... การปฏิบัติอานาปานสติ หมวดกายาฯ คือการพากเพียรชอบ เพื่อปิดกั้น การก่อเกิด อกุศลธรรม ทาง ทวาร ๖ ณ ปัจจุบันกาล แห่งการเจริญ อานาปานสติ จึงชื่อว่า การปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา อยู่ในรูปเป็นวิทยาศาสตร์ (ระบบ สิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา) --- ไม่ใช่ "การเก็งความจริง" และหรือไม่ใช่ อย่างไสยศาสตร์ (ระบบหลับไหล ด้วย มิจฉาทิฏฐิ)
(๒) เวทนา ๓ กับความเพียรละอกุสล และเจริญกุศล
มหา ที ๑๐/๓๑๒/๒๕๗
^^^^
"นำเสนอ" ว่า ..... การปฏิบัติอานาปานสติ หมวดกายาฯ คือการพากเพียรชอบ เพื่อ ตามดู (อนุปัสสี) ตามเห็น (อนุปัสสนา) "อย่างปลอดจาก อามิสสัญญา --- นักอานาปานสติ ควรรู้ พระพุทธวจนะคำนี้ว่า ต่างกับ กามสัญญา อย่างไร?" (สัญญา แบบนี้ ต่างจากสัญญาที่ กล่าวกันทั่วๆ ไปว่า "จำได้หมายรู้ฯ"
(๓) ข้อควรระวัง ในการเจริญ สติสัมปชัญญะ (สติปัฏฐานสี่)
เพื่อ "ละ" (ก่อนพ้นวิเศษสำหรับผุ้เนื่องกับมิจฉาทิฏฐิอยู่ ฯ) อุปกิเลสคือ นิวรณ์ทั้ง ๕
เมื่อ จิตผ่องแผ้วเป็นประภัสสร เพราะ ละนิวรณ์ทั้ง ๕ ได้แล้ว จึงเจริญสติปัฏฐานสี่ "ซึ่ง เป็นองค์รวมอยู่ใน อานาปานสติ ๑๖" = มีความพากดพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ "มีปัจจุบันขณะคือ นำออกเสียได้ ซึ่ง อภิชฌา (เพ่งเอา ด้วยโลภะ เพราะมิจฉาทิฏฐิ) และ โทมนัส (อยากกำจัดด้วย โทสะเพราะมิจฉาทิฏฐิ) ในโลก คือ มนายตนะ ที่กำลังเนื่องกับ อานาปานสติ ๑๖ หมายกายาฯ คือ สติปัฏฐานสี่ ฯ
จากนั้น "จะเนื่องกับ" ที่ตรัส "การทำกายสังขารให้รำงับ" อันเป้น ข้อที่ ๔ ของหมวด กายาฯ "แบบ อานาปานสติสูตร"
ู^^^^
พิจารณา ตามพระสูตร อุปริ ม ๑๔/๒๖๘_๒๗๐/๓๙๖_๔๐๑
^^^^
FYI
learn share fun
เคล็ดไม่ลับของ....
สอบถามฯ ได้ความย่อๆ ดังนี้
การสนทนาด้วยบรรยายด้วย ว่าด้วย อานาปานสติ ๑๖ ที่เนื่องกับ พระสูตร เช่น
สี ที ๙/๙๓/๑๒๒
^^^^
"นำเสนอ" ว่า ..... การปฏิบัติอานาปานสติ หมวดกายาฯ คือการพากเพียรชอบ เพื่อปิดกั้น การก่อเกิด อกุศลธรรม ทาง ทวาร ๖ ณ ปัจจุบันกาล แห่งการเจริญ อานาปานสติ จึงชื่อว่า การปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา อยู่ในรูปเป็นวิทยาศาสตร์ (ระบบ สิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา) --- ไม่ใช่ "การเก็งความจริง" และหรือไม่ใช่ อย่างไสยศาสตร์ (ระบบหลับไหล ด้วย มิจฉาทิฏฐิ)
มหา ที ๑๐/๓๑๒/๒๕๗
^^^^
"นำเสนอ" ว่า ..... การปฏิบัติอานาปานสติ หมวดกายาฯ คือการพากเพียรชอบ เพื่อ ตามดู (อนุปัสสี) ตามเห็น (อนุปัสสนา) "อย่างปลอดจาก อามิสสัญญา --- นักอานาปานสติ ควรรู้ พระพุทธวจนะคำนี้ว่า ต่างกับ กามสัญญา อย่างไร?" (สัญญา แบบนี้ ต่างจากสัญญาที่ กล่าวกันทั่วๆ ไปว่า "จำได้หมายรู้ฯ"
(๓) ข้อควรระวัง ในการเจริญ สติสัมปชัญญะ (สติปัฏฐานสี่)
เพื่อ "ละ" (ก่อนพ้นวิเศษสำหรับผุ้เนื่องกับมิจฉาทิฏฐิอยู่ ฯ) อุปกิเลสคือ นิวรณ์ทั้ง ๕
เมื่อ จิตผ่องแผ้วเป็นประภัสสร เพราะ ละนิวรณ์ทั้ง ๕ ได้แล้ว จึงเจริญสติปัฏฐานสี่ "ซึ่ง เป็นองค์รวมอยู่ใน อานาปานสติ ๑๖" = มีความพากดพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ "มีปัจจุบันขณะคือ นำออกเสียได้ ซึ่ง อภิชฌา (เพ่งเอา ด้วยโลภะ เพราะมิจฉาทิฏฐิ) และ โทมนัส (อยากกำจัดด้วย โทสะเพราะมิจฉาทิฏฐิ) ในโลก คือ มนายตนะ ที่กำลังเนื่องกับ อานาปานสติ ๑๖ หมายกายาฯ คือ สติปัฏฐานสี่ ฯ
จากนั้น "จะเนื่องกับ" ที่ตรัส "การทำกายสังขารให้รำงับ" อันเป้น ข้อที่ ๔ ของหมวด กายาฯ "แบบ อานาปานสติสูตร"
ู^^^^
พิจารณา ตามพระสูตร อุปริ ม ๑๔/๒๖๘_๒๗๐/๓๙๖_๔๐๑
^^^^
FYI
learn share fun