เนื่องจากราคาแก้สหุงต้ม (LPG) ตามตลาดโลกนั้นอยู่ที่ 31 บาทต่อกิโลกรัมแต่มีการตรึงราคาแก้สหุงต้มเพื่อจำหน่ายให้คนไทยได้ใช้ในราคาถูกลง เหลือเพียง 18 บาทต่อกิโลกรัม แต่เมื่อราคาถูกลงก็ถูกนำไปใช้อย่างผิดจุดประเภท เช่น นำไปใช้กับรถยนต์ นำไปจำหน่ายออกต่างประเทศ จำให้แก้สหุงต้มที่จะใช้ตามครัวเรือนนั้นมีจำนวนไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ในอดีตประเทศไทยเคยส่งออกแก้สหุงต้ม แต่เมื่อปี พ.ศ. 2551 เป็นต้นมาเราจำเป็นต้องนำเข้าแก้สหุงต้มจากต่างประเทศเพราะใช้กันเยอะขึ้น
ตัวอย่างเช่น ในประเทศไทยมีบ้าน 100 หลัง แก้สหุงต้มที่ได้จากอ่าวไทยมีเพียงพอแค่ 42 หลัง ส่วนผลพลอยได้จากการกลั้นน้ำมันดิบมีเพียง 27 หลัง จึงไม่พอต่อความต้องการของประชาชนทำให้ต้องนำเข้าแก้สหุงต้มในราคาตลาดโลกคือ 31 บาท แต่ตรึงราคาไว้ที่ 18 บาท ทำให้ต้องกู้ยืมเงินจากต่างประเทศเพื่อมาอุดหนุนราคาแก้สหุงต้ม จึงเกิดเป็นหนี้ก้อนโต 22,000 ล้านบาท
ที่มา gonextgreen
รู้หรือไม่? การตรึงราคาแก้สทำให้คนไทยเป็นหนี้!
เนื่องจากราคาแก้สหุงต้ม (LPG) ตามตลาดโลกนั้นอยู่ที่ 31 บาทต่อกิโลกรัมแต่มีการตรึงราคาแก้สหุงต้มเพื่อจำหน่ายให้คนไทยได้ใช้ในราคาถูกลง เหลือเพียง 18 บาทต่อกิโลกรัม แต่เมื่อราคาถูกลงก็ถูกนำไปใช้อย่างผิดจุดประเภท เช่น นำไปใช้กับรถยนต์ นำไปจำหน่ายออกต่างประเทศ จำให้แก้สหุงต้มที่จะใช้ตามครัวเรือนนั้นมีจำนวนไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ในอดีตประเทศไทยเคยส่งออกแก้สหุงต้ม แต่เมื่อปี พ.ศ. 2551 เป็นต้นมาเราจำเป็นต้องนำเข้าแก้สหุงต้มจากต่างประเทศเพราะใช้กันเยอะขึ้น
ตัวอย่างเช่น ในประเทศไทยมีบ้าน 100 หลัง แก้สหุงต้มที่ได้จากอ่าวไทยมีเพียงพอแค่ 42 หลัง ส่วนผลพลอยได้จากการกลั้นน้ำมันดิบมีเพียง 27 หลัง จึงไม่พอต่อความต้องการของประชาชนทำให้ต้องนำเข้าแก้สหุงต้มในราคาตลาดโลกคือ 31 บาท แต่ตรึงราคาไว้ที่ 18 บาท ทำให้ต้องกู้ยืมเงินจากต่างประเทศเพื่อมาอุดหนุนราคาแก้สหุงต้ม จึงเกิดเป็นหนี้ก้อนโต 22,000 ล้านบาท
ที่มา gonextgreen