คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
สมมติฐานทางการวิจัย
เรามีสินค้าใหม่ A ซึ่งมุ่งหวังว่า ขายได้ไม่เท่ากับสินค้า B (สินค้าเดิม, สินค้าคู่แข่ง)
สมมติฐานทางสถิติ
Ho : MA เท่ากับ MB
H1 : MA ไม่เท่ากับ MB
แบบนี้ ทางสถิติเรียกว่า two-tailed test
********
สมมติฐานทางการวิจัย
เรามีสินค้าใหม่ A ซึ่งมุ่งหวังว่า ขายได้มากกว่าสินค้า B (สินค้าเดิม, สินค้าคู่แข่ง)
สมมติฐานทางสถิติ
Ho : MA น้อยกว่าหรือเท่ากับ MB
H1 : MA มากกว่า MB
แบบนี้ ทางสถิติเรียกว่า one-tailed test
เรามีสินค้าใหม่ A ซึ่งมุ่งหวังว่า ขายได้ไม่เท่ากับสินค้า B (สินค้าเดิม, สินค้าคู่แข่ง)
สมมติฐานทางสถิติ
Ho : MA เท่ากับ MB
H1 : MA ไม่เท่ากับ MB
แบบนี้ ทางสถิติเรียกว่า two-tailed test
********
สมมติฐานทางการวิจัย
เรามีสินค้าใหม่ A ซึ่งมุ่งหวังว่า ขายได้มากกว่าสินค้า B (สินค้าเดิม, สินค้าคู่แข่ง)
สมมติฐานทางสถิติ
Ho : MA น้อยกว่าหรือเท่ากับ MB
H1 : MA มากกว่า MB
แบบนี้ ทางสถิติเรียกว่า one-tailed test
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
ความเกี่ยวพันระหว่าง สมมุติฐานทางสถิติ กับ สมมติฐานทางการวิจัย เป็นอย่างไร
สมมุติฐานทางสถิติ : คำตอบที่ผู้วิจัยคาดการณ์ไวในอนาคตเกี่ยวกับความสัมพันระหว่างตัวแปร
สมมติฐานทางการวิจัย :คำตอบที่ผู้วิจัยคาดการณ์ไวในอนาคตที่สามารถเขียนออกมาในรูปแบบคณิตศาสาตร์ได้
แล้ว มันมีความสัมพันธฺกันอย่างไร ?
ในความเข้าใจของผมคือ
สมมุติว่า สมมุติฐานทางการวิจัย คือ สินค้าAกับสินค้าBขายได้ไม่แตกต่าง
สมมุติฐานทางสถิติ คือ H0 : M1 เท่ากับ M2
H1 : M1 ไม่เท่ากับ M2
แบบนี้ คือความสัมพันใช่ไหมครับ ?
แล้วในกรณี สมมุติฐานทางการวิจัย คือ สินค้าAขายได้มากกว่าสินค้าB
สมมุติฐานทางสถิติ ผมจะเขียนยังไง ?
ฝากถาม 2 เรื่องนี้ครับ ช่วยตอบคำถามที่ผมใส่ ? ด้วยครับ