ว่าด้วยความหน่ายในขันธ์ ๕
[๘๓] พระนครสาวัตถี ฯลฯ
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ภิกษุผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ย่อมมีธรรมอันเหมาะสม
คือ พึงเป็นผู้มากไปด้วยความหน่ายในรูปอยู่
พึงเป็นผู้มากไปด้วยความหน่ายในเวทนาอยู่
พึงเป็นผู้มากไปด้วยความหน่ายในสัญญาอยู่
พึงเป็นผู้มากไปด้วยความหน่ายในสังขารอยู่
พึงเป็นผู้มากไปด้วยความหน่ายในวิญญาณอยู่
ภิกษุนั้น...
เมื่อเป็นผู้มากไปด้วยความหน่ายในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณอยู่
ย่อมกำหนดรู้ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
เมื่อกำหนดรู้ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ.
ย่อม หลุดพ้นจากรูป
ย่อม หลุดพ้นจากเวทนา
ย่อม หลุดพ้นจากสัญญา
ย่อม หลุดพ้นจากสังขาร
ย่อม หลุดพ้นจากวิญญาณ
ย่อม หลุดพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ
ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส,
เรากล่าวว่า...ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์."
พระไตรปิฎกฉบับหลวง
17/39-40/83
พุทธพจน์ โพธิปักขิยธรรม
ธรรมะนี้คือพระพุทธเจ้าสอนทิ้งขันธ์5เพื่อไปนิพพานใช่ไหมครับ 🙏
[๘๓] พระนครสาวัตถี ฯลฯ
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ภิกษุผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ย่อมมีธรรมอันเหมาะสม
คือ พึงเป็นผู้มากไปด้วยความหน่ายในรูปอยู่
พึงเป็นผู้มากไปด้วยความหน่ายในเวทนาอยู่
พึงเป็นผู้มากไปด้วยความหน่ายในสัญญาอยู่
พึงเป็นผู้มากไปด้วยความหน่ายในสังขารอยู่
พึงเป็นผู้มากไปด้วยความหน่ายในวิญญาณอยู่
ภิกษุนั้น...
เมื่อเป็นผู้มากไปด้วยความหน่ายในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณอยู่
ย่อมกำหนดรู้ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
เมื่อกำหนดรู้ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ.
ย่อม หลุดพ้นจากรูป
ย่อม หลุดพ้นจากเวทนา
ย่อม หลุดพ้นจากสัญญา
ย่อม หลุดพ้นจากสังขาร
ย่อม หลุดพ้นจากวิญญาณ
ย่อม หลุดพ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ
ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส,
เรากล่าวว่า...ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์."
พระไตรปิฎกฉบับหลวง
17/39-40/83
พุทธพจน์ โพธิปักขิยธรรม