อย่างที่เราทราบกันว่า แผ่นดินไหวที่เมียนมาร์ วันที่ 28 มีนาคม ที่ผ่านมานั้นทางการของเมียนมาร์รายงานว่ามีขนาด 7.7 ตาม USGS แต่กรมอุตุนิยมวิทยาของไทยกลับรายงานว่ามีขนาด 8.2
ที่เป็นแบบนี้ เพราะทั้งสองหน่วยงานใช้วิธีการคำนวณที่ต่างกัน
สำนักงานสำรวจทางธรณีวิทยาแห่งสหรัฐ(USGS) ใช้วิธีการคำนวณตามมาตราโมเมนต์แมกนิจูด ซึ่งใช้สมการ
โดยที่ M0 คือ โมเมนต์แผ่นดินไหวที่คำนวณได้จาก ค่าโมดูลัสเฉือน × ด้วยพื้นที่แนวร้าว × ระยะการเลื่อน
แต่กรมอุตุนิยมวิทยา ใช้วิธีการคำนวณจากการเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูดของคลื่นตามสมการ
โดยที่ A คือแอมพลิจูดของคลื่นแผ่นดินไหว และ A0 คือค่าการเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูด
ถึงแม้ว่าทั้งสองวิธี สเกล จะใกล้เคียงกัน แต่หากเกิดแผ่นดินไหวรุนแรง วิธีการคำนวณแบบโมเมนต์แมกนิจูด จะแม่นยำที่สุด
ทำไมแผ่นดินไหวครั้งนี้ กรมอุตุ กับ USGS ถึงวัดได้ต่างกัน
ที่เป็นแบบนี้ เพราะทั้งสองหน่วยงานใช้วิธีการคำนวณที่ต่างกัน
สำนักงานสำรวจทางธรณีวิทยาแห่งสหรัฐ(USGS) ใช้วิธีการคำนวณตามมาตราโมเมนต์แมกนิจูด ซึ่งใช้สมการ
โดยที่ M0 คือ โมเมนต์แผ่นดินไหวที่คำนวณได้จาก ค่าโมดูลัสเฉือน × ด้วยพื้นที่แนวร้าว × ระยะการเลื่อน
แต่กรมอุตุนิยมวิทยา ใช้วิธีการคำนวณจากการเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูดของคลื่นตามสมการ
โดยที่ A คือแอมพลิจูดของคลื่นแผ่นดินไหว และ A0 คือค่าการเปลี่ยนแปลงแอมพลิจูด
ถึงแม้ว่าทั้งสองวิธี สเกล จะใกล้เคียงกัน แต่หากเกิดแผ่นดินไหวรุนแรง วิธีการคำนวณแบบโมเมนต์แมกนิจูด จะแม่นยำที่สุด