หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
ระนอง #ตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารที่จำหน่าย
กระทู้สนทนา
จังหวัดระนอง
กระทรวงสาธารณสุข
ตลาดนัด
ฉบับข่าวที่ 248/2568 วันที่ 20 ธันวาคม 2567
สสจ.ระนอง ตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารที่จำหน่าย ในพื้นที่อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง
วันที่ 20 ธันวาคม 2567 นายแพทย์นรเทพ อัศวพัชระ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระนอง มอบหมายให้เจ้าหน้าที่หน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร (Mobile Unit For Food Safety) สสจ.ระนอง ดำเนินการตรวจสารปนเปื้อนในตัวอย่างอาหารสด และผลิตภัณฑ์อาหาร โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น ทั้งนี้ ได้รับความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ สสอ.เมืองระนอง ในการสุ่มตัวอย่างอาหารที่วางจำหน่ายในตลาดสดภักดีศิริตลาดเพิ่มทรัพย์, ตลาดระนองธานี, ร้านจำหน่ายอาหารเขต รพ.ระนอง, ตัวอย่างวัตถุดิบในการปรุงอาหารจากโรงครัว เรือนจำจังหวัดระนอง และโรงครัวโรงพยาบาลระนอง ซึ่งจากการตรวจสอบตัวอย่างอาหาร จำนวนทั้งสิ้น 150 ตัวอย่าง พบว่า ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 149 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 99.33 (พบเกลือเสริมไอโอดีนที่ไม่ผ่านมาตรฐาน จำนวน 1 ตัวอย่าง) ทั้งนี้ เกลือเสริมไอโอดีนที่ไม่ผ่านมาตรฐานดังกล่าวข้างต้น เจ้าหน้าที่ได้ให้คำแนะนำในการเก็บรักษา ต้องหลีกเลี่ยงความชื้นและแสงแดด โดยเก็บในที่ร่มและแห้ง ระบายอากาศดี พ้นจากแสงแดด ไม่เก็บในที่ที่สามารถเปียกน้ำได้หรือมีความชื้นสูง และไม่วางบนพื้นโดยตรง เพื่อป้องกันไม่ให้ไอโอดีนในเกลือเสื่อมสลาย
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
เนื้อสัตว์-ปลาที่ซื้อจากซูเปอร์มาร์เก็ต ต้องล้างก่อนปรุงไหม? ผู้เชี่ยวชาญมาเฉลย
นี่คือคำถามที่หลายคนสงสัยเมื่อต้องเตรียมอาหาร เนื้อหมู เนื้อไก่ หรือปลา ที่ซื้อจากห้างสรรพสินค้า จำเป็นต้องล้างก่อนหรือไม่? ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารเตือนว่า การล้างไม่ถูกวิธีอาจไม่ได้ช่วยให้สะอาดขึ้น แถม
สมาชิกหมายเลข 2469579
อึ้ง! นักวิชาการ ม.แม่ฟ้าหลวง ตรวจแม่น้ำสาย แม่น้ำรวก แม่น้ำโขง รวม 9 จุด พบสารหนูเกินมาตราฐาน 19 เท่า
วันที่ 1 พ.ค.68 หลังจากที่ ดร.สืบสกุล กิจนุกร อาจารย์ประจำสำนักวิชานวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้ลงพื้นที่เก็บตัวอย่างน้ำในแม่น้ำสาย แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง จำนวน 9 จุด เพื่อตรวจสอบสารหนูที่ป
มหรรณพธรรม
อย.แจงสารตกค้าง “องุ่นไชน์มัสแคท” อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย บริโภคได้
อย. แจงสารตกค้าง “องุ่นไชน์มัสแคท” มีเพียง 1 ตัวอย่างพบคลอร์ไพริฟอส สารในกลุ่มวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 กฎหมายห้ามใช้ ส่วนอีก 23 ตัวอย่างมีสารปนเปื้อนจริง แต่ไม่เกินเกณฑ์ความปลอดภัยที่กำหนด หา
สมาชิกหมายเลข 7918220
หมูทรัมป์ vs หมูเถื่อน อะไรปลอดภัยกว่า
https://youtu.be/c6VEfFV6Qu4?si=b3UHC1NgUvkDtwfq หมูเถื่อน คือ การลักลอบนำเข้าหมูผิดกฎหมายจากหลายประเทศ โดยนำเข้ามาไม่ได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ มีความเสี่ยงสูงของ "โรคติดต่อ" เสี่ยง! ต่อ
สมาชิกหมายเลข 4755513
ดินปนเปื้อนในไทย เสี่ยงมะเร็ง
นักวิจัยใช้ข้อมูลดินเกือบ 800,000 จุดทั่วโลก มาวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักที่เป็นสารพิษ เช่น อาร์เซนิก, แคดเมียม, โคบอลต์, โครเมียม, ทองแดง, นิกเกิล, ตะกั่ว พบว่า 14–17% ของพื้นที่เพาะปลูกทั่วโลก มี
สมาชิกหมายเลข 7749566
พบ ‘สารเคมีตลอดกาล’ ใน ‘ไวน์’ ปริมาณสูงกว่าน้ำดื่มถึง 100 เท่า ปนเปื้อนจากยาฆ่าแมลง-สิ่งแวดล้อม
พบ ‘สารเคมีตลอดกาล’ ใน ‘ไวน์’ ปริมาณสูงกว่าน้ำดื่มถึง 100 เท่า ปนเปื้อนจากยาฆ่าแมลง-สิ่งแวดล้อมนักวิจัยจากเครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืชแห่งยุโรป (PAN Europe) ทดสอบไวน์จ
Magpies
ช่วงนี้ คุณกล้ากินซูชิปลา ฟุกุชิมะปลอดรังสี หรือไม่ ? ถ้าเรากินกล้วยไปด้วย มันจะดูดรังสีได้เปล่า ?
อย.ยันเสียงแข็งปลาฟุกุชิมะปลอดรังสี ไม่รู้ไทยประเทศแรกนำเข้า 06 มีนาคม พ.ศ. 2561 เวลา 18:22 น. อย. จับมือกรมประมง ยันปลานำเข้าจากฟูกุชิมะไม่ใช่ล๊อตแรก ไม่มีการปนเปื้อนกัมมันตรังสี เพราะญี่ปุ่นตรวจ
สมาชิกหมายเลข 4378747
⚠️8 เมนูควรระวัง "ช่วงหน้าร้อน" เสี่ยงปวดท้อง ท้องเสีย อาหารเป็นพิษ 🤢
⚠️8 เมนูควรระวัง "ช่วงหน้าร้อน" 🍛☀️เสี่ยงปวดท้อง ท้องเสีย อาหารเป็นพิษ 🤢 หน้าร้อนแบบนี้ นอกจากต้องรับมือกับอากาศที่ร้อนจัดแล้ว สิ่งที่ต้องระวังมากที่สุดก็คือ "อาหารเป็นพิษ" ค่ะ 😣
อัมปาจุม
ต้องการหาที่รับตรวจสอบเศษวัตถุว่าเป็นวัตถุชนิดไหน
พอดีอยากจะทราบว่าวัตถุนี้ทำมาจากอะไร ชนิดไหน มันปนเปื้อนมาติดที่กรอง ถ้าเราต้องการจะตรวจสอบจะส่งแลปไหนได้ไหมครับ มันยุ่งยากไปไหม ถ้าต้องการรู้ว่าเศษชิ้นส่วนที่ในรูปมันคืออะไร หาข้อมูลดูมีท
boomtar
ถ้านำเข้าเนื้อหมูจาก US จริงๆ ช่วยติดป้ายชัดๆ ว่านำเข้าจาก US
ขอบคุณที่มา: https://mgronline.com/onlinesection/detail/9680000034265?tbref=hp วอนรัฐอย่ายัดเยียดคนไทยกินหมูมะกันปนเปื้อนสารเร่งเนื้อแดง เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูยกทัพ ขอ รมว.คลัง - หอการค้าฯ ช่วยป้องอาชี
C.Moon
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
จังหวัดระนอง
กระทรวงสาธารณสุข
ตลาดนัด
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
ระนอง #ตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารที่จำหน่าย
สสจ.ระนอง ตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารที่จำหน่าย ในพื้นที่อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง
วันที่ 20 ธันวาคม 2567 นายแพทย์นรเทพ อัศวพัชระ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระนอง มอบหมายให้เจ้าหน้าที่หน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร (Mobile Unit For Food Safety) สสจ.ระนอง ดำเนินการตรวจสารปนเปื้อนในตัวอย่างอาหารสด และผลิตภัณฑ์อาหาร โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น ทั้งนี้ ได้รับความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ สสอ.เมืองระนอง ในการสุ่มตัวอย่างอาหารที่วางจำหน่ายในตลาดสดภักดีศิริตลาดเพิ่มทรัพย์, ตลาดระนองธานี, ร้านจำหน่ายอาหารเขต รพ.ระนอง, ตัวอย่างวัตถุดิบในการปรุงอาหารจากโรงครัว เรือนจำจังหวัดระนอง และโรงครัวโรงพยาบาลระนอง ซึ่งจากการตรวจสอบตัวอย่างอาหาร จำนวนทั้งสิ้น 150 ตัวอย่าง พบว่า ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 149 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 99.33 (พบเกลือเสริมไอโอดีนที่ไม่ผ่านมาตรฐาน จำนวน 1 ตัวอย่าง) ทั้งนี้ เกลือเสริมไอโอดีนที่ไม่ผ่านมาตรฐานดังกล่าวข้างต้น เจ้าหน้าที่ได้ให้คำแนะนำในการเก็บรักษา ต้องหลีกเลี่ยงความชื้นและแสงแดด โดยเก็บในที่ร่มและแห้ง ระบายอากาศดี พ้นจากแสงแดด ไม่เก็บในที่ที่สามารถเปียกน้ำได้หรือมีความชื้นสูง และไม่วางบนพื้นโดยตรง เพื่อป้องกันไม่ให้ไอโอดีนในเกลือเสื่อมสลาย