20.10
--เช่นหลักทางด้านวิปัสสนาที่พระองค์ถามอยู่เป็นประจำ
--ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง อย่างนี้เป็นต้น
--ภิกษุก็จะตอบตามญานของท่านที่เห็นชัดอย่างนั้นอันนี้เรียกว่า อนุมัตติปุจฉา
--ครับ อันนี้ พระองค์ก็ปล่อยพระสาติเกวัฏฏะบุตร นั้นไว้ตามเดิม คือไม่สนใจเนื่องจากว่าไม่อาจจะช่วยได้
--ขนาดพระพุทธเจ้ายังช่วยไม่ได้นะ ก็นั่งอยู่กับเพื่อนภิกษุนั่นแหละ ก็นั่งฟังธรรมมะไปเป็นวาสนาไป แต่ตอนนี้พระพุทธเจ้าก็ยังแก้ทิฏฐิไม่ได้
--น้าพวกเรานี้บางทีจะไปแก้คนนั้นคนนี้ก็อย่าไปคิดว่าจะแก้ได้ น้า แก้ได้ก็ดี แต่ว่าบางคนขนาดพระพุทธเจ้าก็ยังแก้ไม่ได้นะขนาดนั้นนะหนักขนาดนั้น นะครับ ทำนองนี้
--พระองค์ก็กลับมาถามภิกษุทั้งหลายนะครับ
--ตอนนี้เราเรียนมาถึงเอกสารในหน้าที่ 3 บาลี บาลีข้อ 399 ในย่อหน้าที่ 1ของข้อ 399 ในตอนท้าย ที่พระองค์ได้ตรัสว่า
ปญฺญายิสฺสสิ โข ตฺวํ โมฆปุริส เอเตน สเกน ปาปเกน ทิฏฺฐิคเตน
ดูก่อนโมฆะบุรุษเธอก็จะปรากฏตามความเห็นผิดอันชั่วช้าของตนเองนี้แหละ
--ปญฺญายิสฺสสิ แปลว่า จะปรากฏนะ--นั่นเอง จะปรากฏก็คือ ยังเห็นผิดเหมือนเดิม --
--นั่งคอตก ซบเซาไป ไม่อาจจะโต้เถียงอะไรได้ แต่ความเห็นผิดก็ยังผิดอยู่ยังแก้อยู่แก้ไม่ได้ทั้งๆที่ก็ไม่รู้จะเถียงทำไมนะ
--แบบคนหัวแข็งมันก็แข็งอยู่เรื่อยๆนะ มันก็ปกติ หลายท่านคงเคยแข็งมาเยอะแล้วล่ะนะ ก็ไม่รู้จะแข็งไปทำไมเวลานี้
--เวลาเห็นผิดมันก็ผิดของมันไปเรื่อยชนฝาไปเรื่อยนะนี่ทำนองนี้
--ก็เหมือนพวกเราอ่านพระพุทธพจน์เนี่ย อ่านก็เหมือนพระพุทธเจ้าอยู่ต่อหน้า แต่เวลาเห็นผิดมันก็ดันของมันไปเรื่อยหละน๊า อย่างนี้ กว่าจะเห็นถูกมันก็นานอยู่
--แต่ยังดีที่เรายังไม่ยึดถือนักนะ
--หลักง่ายๆคือ อย่าไปยึดถือสิ่งต่างๆยึดถือความจริงบางแง่บางมุมที่เรียกว่าเป็น ปัจเจกสัจจะ หรือ สัจจะเฉพาะเรื่องเฉพาะเรื่อง เนี่ย อย่าไปถือว่า อย่างนี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นเปล่าเท่าเนี้ย เพราะว่าถ้าไปถือนะ มันจะเป็นทิฏฐิที่รุนแรงนะครับ เป็น สีลพัตตปรามาส หรือ อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ แบบนี้จะหนักนะครับ
-
https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/sutta_item.php?book=34&item=740
-(พระไตรปิฏก เล่มที่ ๓๔ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑ ธรรมสังคณีปกรณ์ คันถโคจฉกะ
[๗๓๖] ธรรมเป็นคันถะ เป็นไฉน?
คันถะ ๔ คือ อภิชฌากายคันถะ พยาปาทกายคันถะ สีลัพพตปรามาสกายคันถะ อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ.)
--ก็ให้มันเป็นทิฏฐิประเภทธรรมดาๆไป และก็ค่อยๆแก้ไปตามลำดับนะ
--อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ แปลว่า การยึดถือ การจับ การยึด ส่วนผสมต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยความยึดมั่นถือมั่นต่างๆแบบประเภทเห็นผิดว่า อย่างนี้เท่านั้นจึง อย่างอื่นเปล่า --อิทังสัจจะ แปลว่า นี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นไม่จริง อย่างนี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นไม่จริง -- อันนี้ พวกเนี้ยะนะ
--คือ เวลาเราได้อะไรดีๆเกิดญานความรู้อันใดอันหนึ่งแล้วก็เป็นสัจจะ แต่อันนี้เขาเรียกว่า ปัจเจกสัจจะ สัจจะเฉพาะคน สัจจะเฉพาะตัวคนนั้น
--คนอื่นอาจจะไม่เห็นก็ได้ แต่เราเห็นอันนี้ เราก็บอกว่าปฏิบัติจะต้องเห็นอันนี้เท่านั้น อันนี้เป็นความเห็นที่ยึดถือสิ่งนั้นเข้าไป นะ เป็น คันถะ นะ
23.58
--อย่างนี้ กายะคันถะ ก็คือ รูปกาย กับ นามกาย -- ใช่ คันถะ 4
--อันนี้ก็เรียกว่า เป็นทิฏฐิที่เข้าไปยึดถือ รูปนามต่างๆที่เป็นสัจจะเฉพาะเรื่องเฉพาะเรื่องว่าอย่างนี้เท่านั้นจริงอย่างอื่นไม่จริง
--คือเรื่องมันจะจริงหรือไม่จริงไม่ใช่ประเด็น
--ประเด็นคือ ยึดถือว่า นี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นไม่จริง
--อย่างเช่นเราปฏิบัติไปก็ได้สมาธิ สมมุติเราได้สมาธิชั้นนี้ชั้นนี้นิ่งเลยแล้วเราค่อยบรรลุธรรมเราก็มายึดคนบรรลุธรรมก็คงไม่ยึดหรอกตอนนี้นึกว่าเขาบรรละ เขาเลยยึดขึ้นมาว่าคนปฏิบัติจะต้องนิ่งอย่างนี้นะจึงจะบรรลุได้ อย่างนี้เท่านั้นได้ อย่างอื่นไม่ได้
--อันนี้ก็เริ่มยึดถือ สัจจะเฉพาะตน เฉพาะตน เป็นของบุคคลไป ที่จริงเราจะนิ่งจะสงบก็เรื่องของเรา เขาไม่นิ่งก็เรื่องของเขา นะ มันไม่เกี่ยวกัน แต่ว่าคนเวลาได้อะไรหรือเจออะไรที่เป็นของตัวเองแล้ว ก็มักจะนึกว่า ต้องอย่างนี้เท่านั้น น้า อาการอย่างนี้
--อาการนี้ไม่เกี่ยวกับอริยสัจจะ4 ไม่เกี่ยว มันเป็นกิเลส มันเป็นทิฏฐิ น๊า มันเป็นทิฏฐิ ก็เอาขันธ์ 5 ที่เกิดขึ้นนั่นแหละมายึดถือว่า นี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นไม่จริง เอาเริ่มง่ายๆตั้งแต่ อย่างพระสาติเรียนพระพุทธพจน์ใช่ไหม พอเรียนไปเรียนมา สมมุติเราเรียน หากเราไม่ค่อยเข้าใจเราไปเรียนเรื่องเวียนว่ายตายเกิด เรียนเรื่องกรรมเรื่องผลของกรรม เราก็ต้องว่ามี นี่เราทำบุญ เราก็ต้องได้รับผล อย่างนี้แหละนะ อันนี้สมมุติ สมมุติว่า เราไม่ค่อยรู้เรื่องนะ
25.43
25.43
--ตอนนี้เราคงจะพอรู้เรื่องบ้างแระ อันนี้ก็ยึดไม่ค่อยลงนะพอมันรู้เรื่องแล้วมันยึดไม่ลง สมมุติว่าคนเขารู้เรื่องอะเขาก็ยึดลงดิ เนี่ยเราทำไปไม่ดีนะตกอบายนะเราก็ว่าไปอย่างนี้ แบบที่เขาแช่งๆกันน่ะ พวกนี้ก็เป็นสัสสตทิฏฐิ เช่น ทำชั่วก็ต้องตกอบายแน่นอน อันนี้ก็จะเป็นสัสสตทิฏฐิ คือทำชั่วตกอบายแน่นอนไม่มีหรอก มันชั่วแล้วมันก็แล้วไปนะมันจะตกหรือไม่ตกมันก็เป็น ปฏิจจสมุปปันนธรรม ไง มันอยู่ที่มีเงื่อนไข หรือเปล่า
--มันอยู่ที่มีมัคไม๊ ถ้ามีมัค มันก็พ้นได้หมด ถ้าไม่มีมัค มันก็มีโอกาส แต่โอกาสเนี่ยก็แล้วแต่เงื่อนไขซึ่งมีอีกเยอะนะ
--แต่ถ้าเราบอกว่านี้แน่นอน เห็นไหม อันนี้แน่นอน เขาเรียก อิทังสัจจาภินิเวสสะ คนโดยมากเรียนไปจะออกทำนองอย่างนี้ แน่นอนก็คือเช่นอย่างนี้ ทำบุญต้องได้ดีแน่นอน อันนี้ ดูความจริงทำบุญก็โดนด่าเละตุ้มเป๊ะก็มี นะมันอยู่ที่เงื่อนไขที่เงื่อนไขหลายอย่าง อย่างนี้ทำนองนี้
--พูดดีจะต้องดีแน่นอน อะไรทำนองนี้ ก็ว่าไป นะ หารู้ไม่ถ้าไปพูดดีกับคนที่เขาไม่ดีขึ้นมา สมมุติเราพูดเรื่องสุราเมรยมัจชะปนาทัดถานา เนี่ย ไปพูดในวงเหล้าเนี่ยดีไม่ดีโดนไม่ใช่น้อยนะ ดีที่ไหนล่ะ ใช่ไม๊ล่ะ เงื่อนไขมันเยอะนา แต่เขาไม่รู้บอกต้องดีต้องดี ก็ว่าไป
--เนี่ย เขาเรียกว่า ลักษณะ อิทังสัจจาภินิเวสสะกายะคันถะ ทำนองนี้นะครับ
--เหมือนกับพระสาตินี้ก็มาเรียนธรรมะเรียนไปเรียนมาก็เลยยึดความเห็นขึ้นมา นะ
--ซึ่งความจริง วิญญาน ก็มีแต่วิญญานที่ทำหน้าที่ในการเคลื่อน ในการทำให้สัตว์นั้นๆเคลื่อนและการเชื่อมภพก็มีจริงๆเสียด้วยแต่ว่ามันไม่ใช่
วิญญานที่เป็นของเที่ยง แต่พอดีเรียนไม่ดีนะ พอเรียนไม่ดีก็ วิญญานกระโดดไปเกาะที่นั่นที่นี่เทียบไปอีกอย่างนี้ ก็ยึดว่าถูกหละ อย่างนี้
--เพราะเวลาเราเรียนเราก็มีจุติอยู่น๊อ ก็เหมือนจิตมันก็เคลื่อนน๊อ ก็เข้าท่าอยู่ แต่จริงๆจิตมันไม่มีเคลื่อนไปไหนมันเกิดดับ อย่างนี้มันแค่ทำหน้าที่
--ผู้เคลื่อนก็คือสัตว์บุคคลนะ ผู้เคลื่อนคือขันธ์ 5 นะไม่ใช่จิต
--จิตมันทำให้ขันธ์ 5 เคลื่อนเฉยๆ เคลื่อนขันธ์ 5 ก็ไม่ได้เคลื่อนสัตว์บุคคลเคลื่อนจากขันธ์ 5 เท่านั้นเอง เพราะขันธ์ 5 มารวมกันมันก็จะมีสัตว์ พอขันธ์แตกสัตว์ก็หมดไป เขาเรียกว่าเคลื่อน
--ทีนี้ พอคนฟัง โอ๊ จุติจิต จิตมันเคลื่อนไปอย่างนั้นไปอีก นะ พอเข้าใจไม๊อย่างนี้
--หรือพอปฏิสนธิจิตอย่างนี้ จิตมันต่อ โอ๋ จิตมันเคลือนนะมันต่อทางนี้เอ๊าไปอีก นี่และ
--ไอ้ต่อนี่แหละมาต่อก็คือ ขันธ์ 5 มาต่อกัน มาต่อกัน
--จิตที่ทำให้ขันธ์ 5 มาต่อกันเขาเรียกว่า ปฏิสนธิจิต เท่านั้นเอง จริงๆไม่มีหรอกปฏิสนธิจิต มันไม่มี มันก็จิตธรรมดานี่แหละ แต่ว่ามันทำกิจปฏิสนธิเท่านั้น เอง
--จิตมันมีกิจ 14 ใช่ไม๊ เหมือนพวกเราได้เรียนมาแต่ว่าพอตั้งชื่อแบบนั้นแบบนี้มันงงทีนี้เรียนไปเรียนมาเอ้างงเนี่ย
--ก็คือความไม่เข้าใจชัดขั้นพื้นฐานเรื่องว่า เอ้ มีแต่ขันธ์ 5 นะ เป็นกองทุกข์นะ ตัวตนสัตว์บุคคลไม่มี
--ไม่มี ไม่มียังไง ก็ต้องรู้ ด้วย มี มียังไง ก็ต้องรู้ด้วย
--เพราะบางคนก็ปฏิเสธเหลือเกิน สัตว์บุคคลไม่มี กลายเป็นอุจเฉทไปอีก เลยมั่วกันอยู่
--จริงๆสัตว์บุคคลมันมี พระพุทธเจ้าก็สอนเรื่องสัตว์บุคคลนี่แหละแต่มันเป็นสัมมาทิฏฐิระดับหนึ่งเลยทีเดียว เช่นว่า พ่อแม่มี ก็เป็นสัมมาทิฏฐิ
--ถ้าบอกว่าคนไม่มี เอ้าพ่อแม่ มีไม๊ ไม่มี นี่อันนี้ก็เป็นมิจฉาทิฏฐิไปอีก นะ
--เทวดาก็มีอยู่ โอปปาติกสัตว์ ก็มีอยู่ ก็เป็นสัมมาทิฏฐิระดับโลกิยะ ก็ต้องมีความรู้เรื่องนี้ไว้
--ส่วนระดับโลกุตตระที่ค้นหาได้ด้วยญานปัญญาเป็นยังไงก็ต้องรู้อีกชั้นหนึ่ง อย่างนี้
--แต่พวกเราเวลาเรียนๆเรื่องใดเรื่องหนึ่งตอนเรียนแรกๆชั้นโลกิยะก็ยึดว่าตนมี พอเรียนระดับอภิธรรมนะ เรียนจิต เจตสิก รูป นิพพาน ตนไม่มีอีกแระ ทีนี้
30.09
------
มหาตัณหาสังขยสูตร ๒ วิญญาณเกิดเพราะอาศัยปัจจัย, อ.สุภีร์ ทุมทอง-บ้านพุทธธรรมสวนหลวง-๒๐
https://www.youtube.com/watch?v=Mv1P1YKM5eE
-----
อิทังสัจจะ แปลว่า นี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นไม่จริง อย่างนี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นไม่จริง
--เช่นหลักทางด้านวิปัสสนาที่พระองค์ถามอยู่เป็นประจำ
--ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง อย่างนี้เป็นต้น
--ภิกษุก็จะตอบตามญานของท่านที่เห็นชัดอย่างนั้นอันนี้เรียกว่า อนุมัตติปุจฉา
--ครับ อันนี้ พระองค์ก็ปล่อยพระสาติเกวัฏฏะบุตร นั้นไว้ตามเดิม คือไม่สนใจเนื่องจากว่าไม่อาจจะช่วยได้
--ขนาดพระพุทธเจ้ายังช่วยไม่ได้นะ ก็นั่งอยู่กับเพื่อนภิกษุนั่นแหละ ก็นั่งฟังธรรมมะไปเป็นวาสนาไป แต่ตอนนี้พระพุทธเจ้าก็ยังแก้ทิฏฐิไม่ได้
--น้าพวกเรานี้บางทีจะไปแก้คนนั้นคนนี้ก็อย่าไปคิดว่าจะแก้ได้ น้า แก้ได้ก็ดี แต่ว่าบางคนขนาดพระพุทธเจ้าก็ยังแก้ไม่ได้นะขนาดนั้นนะหนักขนาดนั้น นะครับ ทำนองนี้
--พระองค์ก็กลับมาถามภิกษุทั้งหลายนะครับ
--ตอนนี้เราเรียนมาถึงเอกสารในหน้าที่ 3 บาลี บาลีข้อ 399 ในย่อหน้าที่ 1ของข้อ 399 ในตอนท้าย ที่พระองค์ได้ตรัสว่า
ปญฺญายิสฺสสิ โข ตฺวํ โมฆปุริส เอเตน สเกน ปาปเกน ทิฏฺฐิคเตน
ดูก่อนโมฆะบุรุษเธอก็จะปรากฏตามความเห็นผิดอันชั่วช้าของตนเองนี้แหละ
--ปญฺญายิสฺสสิ แปลว่า จะปรากฏนะ--นั่นเอง จะปรากฏก็คือ ยังเห็นผิดเหมือนเดิม --
--นั่งคอตก ซบเซาไป ไม่อาจจะโต้เถียงอะไรได้ แต่ความเห็นผิดก็ยังผิดอยู่ยังแก้อยู่แก้ไม่ได้ทั้งๆที่ก็ไม่รู้จะเถียงทำไมนะ
--แบบคนหัวแข็งมันก็แข็งอยู่เรื่อยๆนะ มันก็ปกติ หลายท่านคงเคยแข็งมาเยอะแล้วล่ะนะ ก็ไม่รู้จะแข็งไปทำไมเวลานี้
--เวลาเห็นผิดมันก็ผิดของมันไปเรื่อยชนฝาไปเรื่อยนะนี่ทำนองนี้
--ก็เหมือนพวกเราอ่านพระพุทธพจน์เนี่ย อ่านก็เหมือนพระพุทธเจ้าอยู่ต่อหน้า แต่เวลาเห็นผิดมันก็ดันของมันไปเรื่อยหละน๊า อย่างนี้ กว่าจะเห็นถูกมันก็นานอยู่
--แต่ยังดีที่เรายังไม่ยึดถือนักนะ
--หลักง่ายๆคือ อย่าไปยึดถือสิ่งต่างๆยึดถือความจริงบางแง่บางมุมที่เรียกว่าเป็น ปัจเจกสัจจะ หรือ สัจจะเฉพาะเรื่องเฉพาะเรื่อง เนี่ย อย่าไปถือว่า อย่างนี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นเปล่าเท่าเนี้ย เพราะว่าถ้าไปถือนะ มันจะเป็นทิฏฐิที่รุนแรงนะครับ เป็น สีลพัตตปรามาส หรือ อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ แบบนี้จะหนักนะครับ
-https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/sutta_item.php?book=34&item=740
-(พระไตรปิฏก เล่มที่ ๓๔ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑ ธรรมสังคณีปกรณ์ คันถโคจฉกะ
[๗๓๖] ธรรมเป็นคันถะ เป็นไฉน?
คันถะ ๔ คือ อภิชฌากายคันถะ พยาปาทกายคันถะ สีลัพพตปรามาสกายคันถะ อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ.)
--ก็ให้มันเป็นทิฏฐิประเภทธรรมดาๆไป และก็ค่อยๆแก้ไปตามลำดับนะ
--อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ แปลว่า การยึดถือ การจับ การยึด ส่วนผสมต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยความยึดมั่นถือมั่นต่างๆแบบประเภทเห็นผิดว่า อย่างนี้เท่านั้นจึง อย่างอื่นเปล่า --อิทังสัจจะ แปลว่า นี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นไม่จริง อย่างนี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นไม่จริง -- อันนี้ พวกเนี้ยะนะ
--คือ เวลาเราได้อะไรดีๆเกิดญานความรู้อันใดอันหนึ่งแล้วก็เป็นสัจจะ แต่อันนี้เขาเรียกว่า ปัจเจกสัจจะ สัจจะเฉพาะคน สัจจะเฉพาะตัวคนนั้น
--คนอื่นอาจจะไม่เห็นก็ได้ แต่เราเห็นอันนี้ เราก็บอกว่าปฏิบัติจะต้องเห็นอันนี้เท่านั้น อันนี้เป็นความเห็นที่ยึดถือสิ่งนั้นเข้าไป นะ เป็น คันถะ นะ
23.58
--อย่างนี้ กายะคันถะ ก็คือ รูปกาย กับ นามกาย -- ใช่ คันถะ 4
--อันนี้ก็เรียกว่า เป็นทิฏฐิที่เข้าไปยึดถือ รูปนามต่างๆที่เป็นสัจจะเฉพาะเรื่องเฉพาะเรื่องว่าอย่างนี้เท่านั้นจริงอย่างอื่นไม่จริง
--คือเรื่องมันจะจริงหรือไม่จริงไม่ใช่ประเด็น
--ประเด็นคือ ยึดถือว่า นี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นไม่จริง
--อย่างเช่นเราปฏิบัติไปก็ได้สมาธิ สมมุติเราได้สมาธิชั้นนี้ชั้นนี้นิ่งเลยแล้วเราค่อยบรรลุธรรมเราก็มายึดคนบรรลุธรรมก็คงไม่ยึดหรอกตอนนี้นึกว่าเขาบรรละ เขาเลยยึดขึ้นมาว่าคนปฏิบัติจะต้องนิ่งอย่างนี้นะจึงจะบรรลุได้ อย่างนี้เท่านั้นได้ อย่างอื่นไม่ได้
--อันนี้ก็เริ่มยึดถือ สัจจะเฉพาะตน เฉพาะตน เป็นของบุคคลไป ที่จริงเราจะนิ่งจะสงบก็เรื่องของเรา เขาไม่นิ่งก็เรื่องของเขา นะ มันไม่เกี่ยวกัน แต่ว่าคนเวลาได้อะไรหรือเจออะไรที่เป็นของตัวเองแล้ว ก็มักจะนึกว่า ต้องอย่างนี้เท่านั้น น้า อาการอย่างนี้
--อาการนี้ไม่เกี่ยวกับอริยสัจจะ4 ไม่เกี่ยว มันเป็นกิเลส มันเป็นทิฏฐิ น๊า มันเป็นทิฏฐิ ก็เอาขันธ์ 5 ที่เกิดขึ้นนั่นแหละมายึดถือว่า นี้เท่านั้นจริง อย่างอื่นไม่จริง เอาเริ่มง่ายๆตั้งแต่ อย่างพระสาติเรียนพระพุทธพจน์ใช่ไหม พอเรียนไปเรียนมา สมมุติเราเรียน หากเราไม่ค่อยเข้าใจเราไปเรียนเรื่องเวียนว่ายตายเกิด เรียนเรื่องกรรมเรื่องผลของกรรม เราก็ต้องว่ามี นี่เราทำบุญ เราก็ต้องได้รับผล อย่างนี้แหละนะ อันนี้สมมุติ สมมุติว่า เราไม่ค่อยรู้เรื่องนะ
25.43
25.43
--ตอนนี้เราคงจะพอรู้เรื่องบ้างแระ อันนี้ก็ยึดไม่ค่อยลงนะพอมันรู้เรื่องแล้วมันยึดไม่ลง สมมุติว่าคนเขารู้เรื่องอะเขาก็ยึดลงดิ เนี่ยเราทำไปไม่ดีนะตกอบายนะเราก็ว่าไปอย่างนี้ แบบที่เขาแช่งๆกันน่ะ พวกนี้ก็เป็นสัสสตทิฏฐิ เช่น ทำชั่วก็ต้องตกอบายแน่นอน อันนี้ก็จะเป็นสัสสตทิฏฐิ คือทำชั่วตกอบายแน่นอนไม่มีหรอก มันชั่วแล้วมันก็แล้วไปนะมันจะตกหรือไม่ตกมันก็เป็น ปฏิจจสมุปปันนธรรม ไง มันอยู่ที่มีเงื่อนไข หรือเปล่า
--มันอยู่ที่มีมัคไม๊ ถ้ามีมัค มันก็พ้นได้หมด ถ้าไม่มีมัค มันก็มีโอกาส แต่โอกาสเนี่ยก็แล้วแต่เงื่อนไขซึ่งมีอีกเยอะนะ
--แต่ถ้าเราบอกว่านี้แน่นอน เห็นไหม อันนี้แน่นอน เขาเรียก อิทังสัจจาภินิเวสสะ คนโดยมากเรียนไปจะออกทำนองอย่างนี้ แน่นอนก็คือเช่นอย่างนี้ ทำบุญต้องได้ดีแน่นอน อันนี้ ดูความจริงทำบุญก็โดนด่าเละตุ้มเป๊ะก็มี นะมันอยู่ที่เงื่อนไขที่เงื่อนไขหลายอย่าง อย่างนี้ทำนองนี้
--พูดดีจะต้องดีแน่นอน อะไรทำนองนี้ ก็ว่าไป นะ หารู้ไม่ถ้าไปพูดดีกับคนที่เขาไม่ดีขึ้นมา สมมุติเราพูดเรื่องสุราเมรยมัจชะปนาทัดถานา เนี่ย ไปพูดในวงเหล้าเนี่ยดีไม่ดีโดนไม่ใช่น้อยนะ ดีที่ไหนล่ะ ใช่ไม๊ล่ะ เงื่อนไขมันเยอะนา แต่เขาไม่รู้บอกต้องดีต้องดี ก็ว่าไป
--เนี่ย เขาเรียกว่า ลักษณะ อิทังสัจจาภินิเวสสะกายะคันถะ ทำนองนี้นะครับ
--เหมือนกับพระสาตินี้ก็มาเรียนธรรมะเรียนไปเรียนมาก็เลยยึดความเห็นขึ้นมา นะ
--ซึ่งความจริง วิญญาน ก็มีแต่วิญญานที่ทำหน้าที่ในการเคลื่อน ในการทำให้สัตว์นั้นๆเคลื่อนและการเชื่อมภพก็มีจริงๆเสียด้วยแต่ว่ามันไม่ใช่
วิญญานที่เป็นของเที่ยง แต่พอดีเรียนไม่ดีนะ พอเรียนไม่ดีก็ วิญญานกระโดดไปเกาะที่นั่นที่นี่เทียบไปอีกอย่างนี้ ก็ยึดว่าถูกหละ อย่างนี้
--เพราะเวลาเราเรียนเราก็มีจุติอยู่น๊อ ก็เหมือนจิตมันก็เคลื่อนน๊อ ก็เข้าท่าอยู่ แต่จริงๆจิตมันไม่มีเคลื่อนไปไหนมันเกิดดับ อย่างนี้มันแค่ทำหน้าที่
--ผู้เคลื่อนก็คือสัตว์บุคคลนะ ผู้เคลื่อนคือขันธ์ 5 นะไม่ใช่จิต
--จิตมันทำให้ขันธ์ 5 เคลื่อนเฉยๆ เคลื่อนขันธ์ 5 ก็ไม่ได้เคลื่อนสัตว์บุคคลเคลื่อนจากขันธ์ 5 เท่านั้นเอง เพราะขันธ์ 5 มารวมกันมันก็จะมีสัตว์ พอขันธ์แตกสัตว์ก็หมดไป เขาเรียกว่าเคลื่อน
--ทีนี้ พอคนฟัง โอ๊ จุติจิต จิตมันเคลื่อนไปอย่างนั้นไปอีก นะ พอเข้าใจไม๊อย่างนี้
--หรือพอปฏิสนธิจิตอย่างนี้ จิตมันต่อ โอ๋ จิตมันเคลือนนะมันต่อทางนี้เอ๊าไปอีก นี่และ
--ไอ้ต่อนี่แหละมาต่อก็คือ ขันธ์ 5 มาต่อกัน มาต่อกัน
--จิตที่ทำให้ขันธ์ 5 มาต่อกันเขาเรียกว่า ปฏิสนธิจิต เท่านั้นเอง จริงๆไม่มีหรอกปฏิสนธิจิต มันไม่มี มันก็จิตธรรมดานี่แหละ แต่ว่ามันทำกิจปฏิสนธิเท่านั้น เอง
--จิตมันมีกิจ 14 ใช่ไม๊ เหมือนพวกเราได้เรียนมาแต่ว่าพอตั้งชื่อแบบนั้นแบบนี้มันงงทีนี้เรียนไปเรียนมาเอ้างงเนี่ย
--ก็คือความไม่เข้าใจชัดขั้นพื้นฐานเรื่องว่า เอ้ มีแต่ขันธ์ 5 นะ เป็นกองทุกข์นะ ตัวตนสัตว์บุคคลไม่มี
--ไม่มี ไม่มียังไง ก็ต้องรู้ ด้วย มี มียังไง ก็ต้องรู้ด้วย
--เพราะบางคนก็ปฏิเสธเหลือเกิน สัตว์บุคคลไม่มี กลายเป็นอุจเฉทไปอีก เลยมั่วกันอยู่
--จริงๆสัตว์บุคคลมันมี พระพุทธเจ้าก็สอนเรื่องสัตว์บุคคลนี่แหละแต่มันเป็นสัมมาทิฏฐิระดับหนึ่งเลยทีเดียว เช่นว่า พ่อแม่มี ก็เป็นสัมมาทิฏฐิ
--ถ้าบอกว่าคนไม่มี เอ้าพ่อแม่ มีไม๊ ไม่มี นี่อันนี้ก็เป็นมิจฉาทิฏฐิไปอีก นะ
--เทวดาก็มีอยู่ โอปปาติกสัตว์ ก็มีอยู่ ก็เป็นสัมมาทิฏฐิระดับโลกิยะ ก็ต้องมีความรู้เรื่องนี้ไว้
--ส่วนระดับโลกุตตระที่ค้นหาได้ด้วยญานปัญญาเป็นยังไงก็ต้องรู้อีกชั้นหนึ่ง อย่างนี้
--แต่พวกเราเวลาเรียนๆเรื่องใดเรื่องหนึ่งตอนเรียนแรกๆชั้นโลกิยะก็ยึดว่าตนมี พอเรียนระดับอภิธรรมนะ เรียนจิต เจตสิก รูป นิพพาน ตนไม่มีอีกแระ ทีนี้
30.09
------
มหาตัณหาสังขยสูตร ๒ วิญญาณเกิดเพราะอาศัยปัจจัย, อ.สุภีร์ ทุมทอง-บ้านพุทธธรรมสวนหลวง-๒๐
https://www.youtube.com/watch?v=Mv1P1YKM5eE
-----