คาดว่าจะเริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว วันที่ 29 ตุลาคม 2667 สิ้นสุดประมาณปลายเดือน กุมภาพันธ์ 2568

เกณฑ์การเข้าฤดูหนาวของประเทศไทย เกณฑ์การพิจารณาการเข้าสู่ฤดูหนาว 1. อุณหภูมิต่ำสุดบริเวณประเทศไทยตอนบน อยู่ในเกณฑ์ อากาศหนาวเย็นเกือบทั่วไป (อุณหภูมิต่ำสุด < 23.0 ซ) อย่างต่อเนื่อง
2. ลมระดับล่าง (ที่ความสูงประมาณ 100-3500 ม.) เป็นลมตะวันออกเฉียงเหนือหรือลมตะวันออก ส่วนลมระดับบน (ที่ความสูงประมาณ 5000 ม. ขึ้นไป) เป็นลมฝ่ายตะวันตก
3. ปริมาณและการกระจายของฝนบริเวณประเทศไทย ตอนบนเริ่มลดลงอย่างต่อเนื่อง

โดยในปีนี้ คาดว่า อุณหภูมิต่ำสุดอยู่ที่ 20-21°c ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ย 1.0°C (ปกติ 19.9°C)
อากาศจะหนาวเย็นกว่าปีที่ผ่านมา
จังหวัดที่มีโอกาสอุณหภูมิหนาวจัด (<8.0°C)
ทั้งหมด 9 จังหวัด* ภาคเหนือ 4 จังหวัด ภาคตะวันเฉียงเหนือ 5 จังหวัด
1.แม่ฮ่องสอน
2.เชียงราย
3.พะเยา
4.น่าน
5.เลย
6.หนองคาย
7.บึงกาฬ
8.สกลนคร
9.นครพนม
*ไม่รวมยอดดอย ยอดภู
บริเวณยอดดอย ยอดภู ยอดเขา จะมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด
กรุงเทพมหานครจะมีอุณหภูมิตํ่าสุด 16-18°C
ภาคใต้
มีฝนตกชุกหนาแน่นทางฝั่งตะวันออกของภาคตั้งแต่ ชุมพรลงไปโดยเฉพาะในช่วงเดือน พ.ย. และ ธ.ค. จะมีฝน ตกหนักหลายพื้นที่และหนักมากบางแห่ง ระวัง พายุหมุนเขตร้อน ในเดือน พ.ย. และ ร.ค เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก น้ำล้นตลิ่ง

คาดหมาย เดือน พ.ย 2567
อุณหภูมิเฉลี่ยตํ่าสุด แต่ละภาค
ภาคเหนือ 20-22°c (+1.5)🔴
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20-22°c (+1.0)🔴
ภาคกลาง 22-24°c (+1.0)🔴
ภาคตะวันออก 23-25°c (+1.0)🔴
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 20-22°c (+0.5)🔴
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก 23-25°c (+0.5)🔴
กรุงเทพฯและปริมณฑล 24-26°c (+1.0)🔴
ปริมาณฝน
ภาคเหนือ 20-40 มม. ใกล้ค่าปกติ🟢
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 15-30 มม. สูงกว่าค่าปกติ 10%🔵
ภาคกลาง 20-40 มม. สูงกว่าค่าปกติ 20%🔵
ภาคตะวันออก 50-80 มม. สูงกว่าปกติ 10%🔵
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 370-420 มม. สูงกว่าปกติ🔵 10%🔵
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก 210-260 มม. สูงกว่าปกติ 20%🔵
กรุงเทพฯและปริมณฑล 40-60 มม. สูงกว่าปกติ 20%🔵

คาดหมาย เดือน ธ.ค 2567
อุณหภูมิเฉลี่ยตํ่าสุด แต่ละภาค
ภาคเหนือ 17-19°c (+1.0)🔴
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 18-20°c (+1.0)🔴
ภาคกลาง 20-22°c (+1.0)🔴
ภาคตะวันออก 22-24°c (+1.0)🔴
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 23-25°c (+0.5)🔴
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก 23-25°c (+0.5)🔴
กรุงเทพฯและปริมณฑล 23-25°c (+1.0)🔴
ปริมาณฝน
ภาคเหนือ น้อยกว่า 10 มม. ตํ่ากว่าค่าปกติ 50%🔴
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ น้อยกว่า 10 มม. ตํ่ากว่าค่าปกติ 50%🔴
ภาคกลาง น้อยกว่า 10 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
ภาคตะวันออก 5-15 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 300-350 มม. สูงกว่าปกติ 10%🔵
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก 90-120 มม. สูงกว่าปกติ 10%🔵
กรุงเทพฯและปริมณฑล 10-20 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢

คาดหมาย เดือน ม.ค 2568
อุณหภูมิเฉลี่ยตํ่าสุด แต่ละภาค
ภาคเหนือ 16-18°c (+1.0)🔴
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 17-19°c (+1.0)🔴
ภาคกลาง 20-22°c (+1.0)🔴
ภาคตะวันออก 22-24°c (+1.0)🔴
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 22-24°c (+0.5)🔴
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก 23-25°c (+0.5)🔴
กรุงเทพฯและปริมณฑล 23-25°c (+1.0)🔴
ปริมาณฝน
ภาคเหนือ 5-15 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ น้อยกว่า 10 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
ภาคกลาง น้อยกว่า 10 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
ภาคตะวันออก 15-30 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 130-170 มม. สูงกว่าปกติ 30%🔵
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก 50-80 มม. สูงกว่าปกติ 30%🔵
กรุงเทพฯและปริมณฑล 15-30 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢

คาดหมายจังหวัดที่หนาวถึงหนาวจัด
หนาวจัด (<8.0°c)
1. แม่ฮ่องสอน
2.น่าน
3.พะเยา
4.เชียงราย
5.เลย
6.สกลนคร
7.นครพนม
8.หนองคาย
9.บึงกาฬ
หนาว (8.9-15.9°c)
1.เชียงใหม่
2.ลำพูน
3.ลำปาง
4.อุตรดิถต์
5.แพร่
6.สุโขทัย
7.ตาก
8.กำแพงเพชร
9.พิษณุโลก
10.พิจิจร
11.นครสวรรค์
12.เพชรบูรณ์
13.อุทัยธานี
14.ชัยนาท
15.กาญจนบุรี
16.สุพรรณบุรี
17. ราชบุรี
18. นครปฐม
19. สิงห์บุรี
20. อ่าวทอง
21.ลพบุรี
22. สระบุรี
23. พระนครศรีอยุธยา
24. นนทบุรี
25. ปทุมธานี
26. นครนายก
27. ชัยภูมิ
28. นครราชสีมา
29. อุบลราชธานี
30. อุดรธานี
31. หนองบัวลำภู
32. สุรินทร์
33. ศรีสะเกษ
34. บุรีรัมย์
35. ขอนแก่น
36 กาฬสินธุ์
37.มุกดาหาร
38. ยโสธร
39. อำนาจเจริญ
40. ร้อยเอ็ด
41. มหาสารคาม
42. ปราจีนบุรี
43. สระแก้ว
44. ฉะเชิงเทรา

10 อันดับอุณหภูมิตํ่าที่สุดในฤดูหนาว¹ ²
1. -1.4°c 2 ม.ค 2517 สถานีเกษตรสกลนคร
2. -1.3°c 2 ม.ค 2517 สถานีเกษตรเลย
3. 0.0°c 23 ธ.ค 2518 สถานีเกษตรเลย
4. 0.1°c 13 ม.ค 2498 , 2 ม.ค 2517 อ.เมือง จ.เลย
29,30 ธ.ค 2518 สถานีเกษตรเลย
5. 0.2°c 31 ธ.ค 2518 สถานีเกษตรเลย
6. 0.3°c 5 ม.ค 2517 สถานีเกษตรเลย
7. 0.4°c 12 ม.ค 2498 อ.เมือง จ.เลย
8. 0.5°c 12 ม.ค 2498 อ.เมือง จ.สกลนคร
18 ธ.ค 2518 สถานีเกษตรเลย
9. 0.8°c 27 ธ.ค 2542 อ.อุ้มผาง จ.ตาก
31 ธ.ค 2516 สถานีเกษตรเลย
10. 1.0°c 2 ม.ค 2517 สถานีเกษตรน่าน
24 ธ.ค 2518 สถานีเกษตรเลย
25 ธ.ค 2542 สถานีเกษตรเชียงราย
¹ข้อมูลปี พ.ศ. 2494 - 25 ต.ค 2567
²ไม่รวมอุณหภูมิยอดดอย ยอดภู

สภาพอากาศก่อนฤดูหนาว
ในช่วงวันที่ 26-28 ต.ค. 67 พายุโซนร้อนกำลังแรง "จ่ามี" บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน มีศูนย์กลางอยู่ห่าง ประมาณ 800 กม. ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะ ไหหลํา และกำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกอย่างช้าๆ คาดว่าจะเคลื่อนเข้าใกล้ชายฝั่งประเทศเวียดนาม ตอนกลาง โดยพายุนี้จะไม่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทย แต่จะ ทําให้มีลมฝ่ายตะวันตก ลมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดเข้าหา ศูนย์กลางของพายุมีกำลังแรงขึ้น ลักษณะเช่นนี้จะทำให้ ประเทศไทยมีฝนเพิ่มขึ้นและมีฝนตกหนักบางแห่งในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก กับ มีลมแรงในช่วงวันดังกล่าว หลังจากนั้นพายุจะเปลี่ยน ทิศทางเคลื่อนตัวออกห่างจากชายฝั่งประเทศเวียดนาม | กลับไปทางทะเลจีนใต้ตอนบน ทําให้ประเทศไทยตอนบน มีฝนลดลง มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยจะมีกำลังแรงขึ้น ทําให้ภาคใต้ มีฝนตกต่อเนื่องและมีฝนตกหนักหลายพื้นที่ โดยมีฝน ตกหนักมากบางแห่ง
ขอให้ประชาชนในบริเวณดังกล่าวระวัง อันตรายจากฝนตกหนักถึงหนักมากและฝนที่ตกสะสมซึ่งอาจก่อให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก โดยเฉพาะพื้นที่ลาดเชิงเขาใกล้ทางน้ำไหลผ่านและพื้นที่ลุ่มไว้ด้วย
ขอให้ประชาชนติดตามประกาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา และสามารถ ติดตามข้อมูลที่เว็บไซต์กรมอุตุนิยมวิทยา http://www.tmd.go.th หรือที่ 0-2399-4012-13 และ 1182 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง

จังหวัดที่คาดว่าจะมีฝนตกหนักถึงหนักมาก
วันที่
26 ต.ค
ภาคเหนือ
พิษณุโลก
เพชรบูรณ์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เลย
ชัยภูมิ
นครราชสีมา
ใต้
พังงา
ภูเก็ต
กระบี่
ตรัง
สตูล
27 ต.ค
ภาคเหนือ
อุตรดิษถ์
สุโขทัย
พิษณุโลก แ
และ เพชรบูรณ์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
นครพนม
มุกดาหาร
ยโสธร
อำนาจเจริญ
นครราชสีมา
ศรีษะเกษ
และอุบลราชธานี
ภาคกลางและตะวันออก
นครสวรรค์
อุทัยธานี
ชัยนาท
สุพรรณบุรี
สิ่งห์บุรี
อ่างทอง
ลพบุรี
สระบุรี
พระนครศรีอยุธยา
นครปฐม
สมุทรสาคร
รวมทั้ง กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล
นครนายก
ปราจีนบุรี
สระแก้ว
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
ระยอง
จันทบุรี
ตราด
ภาคใต้
ระนอง
พังงา
ภูเก็ต
กระบี่
ตรัง
และสตูล
28-29 ต.ค
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มุกดาหาร
ยโสธร
อำนาจเจริญ
และ อุบลราชธานี
ภาคกลางและตะวันออก
นครสวรรค์
อุทัยธานี
ชัยนาท
สุพรรณบุรี
สิ่งห์บุรี
อ่างทอง
ลพบุรี
สระบุรี
พระนครศรีอยุธยา
นครปฐม
สมุทรสาคร
รวมทั้ง กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล
นครนายก
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
ระยอง
จันทบุรี
ตราด
ภาคใต้
เพชรบุรี
ประจวบคีรีขันธ์
ชุมพร
สุราษฎร์ธานี
นครศรีธรรมราช
พัทลุง
สงขลา
ระนอง
พังงา
ภูเก็ต
กระบี่
ตรัง
และสตูล

เดือนพฤศจิกายนและธันวาคม ครึ่งแรกของเดือน มีโอกาสสูงที่หย่อมความกดอากาศต่ำ กำลังแรงหรือพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อน ตัวเข้ามาใกล้หรือเคลื่อนผ่านอ่าวไทยและ ภาคใต้ ทำให้ภาคใต้มีฝนตกชุกหนาแน่น รวมทั้งคลื่นลมจะมีกำลังแรง และอาจมี คลื่นพายุชัดฝั่ง ความสูงของคลื่น มากกว่า 3-5 เมตร
ครึ่งแรก พ.ย
เป็นไปได้มากที่สุด บริเวณ ชุมพร-ประจวบคีรีขันธ์
เป็นไปได้รองลงมา บริเวณ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง อุบลราชธานี-อำนาจเจริญ
ครึ่งหลัง พ.ย
เป็นไปได้มากที่สุด บริเวณ พัทลุง-นครศรีธรรมราช
เป็นไปได้รองลงมา บริเวณ ชุมพร-ประจวบคีรีขันธ์
เดือน ธ.ค
เป็นไปได้มากที่สุด บริเวณ สงขลา-ปัตตานี
เป็นไปได้รองลงมา บริเวณจังหวัด พัทลุง

สถานการณ์ ENSO (El Nino Southern Oscillation)³
ปรากฏการณ์ ENSO ที่อยู่ในสภาวะปกติจะเปลี่ยนเข้าสู่สภาวะลานีญาในเดือนตุลาคม 2567 และจะต่อเนื่องไปจนถึงช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2568
ผลการคาดการณ์ปรากฏการณ์ ENSO ราย 3 เดือน ระหว่างเดือน กันยายน 2567 ถึงมีนาคม 2568 แสดงให้เห็นว่าปรากฏการณ์เอนโซ ที่อยู่ในสภาวะปกติจะเปลี่ยนเข้าสู่สภาวะลานีญาในช่วงเดือน ตุลาคม 2567 และจะต่อเนื่องไปจนถึงเดือนมีนาคม 2568
³ข้อมูล 16 ก.ย 2567
29 ต.ค นี้ เข้าฤดูหนาว
เกณฑ์การเข้าฤดูหนาวของประเทศไทย เกณฑ์การพิจารณาการเข้าสู่ฤดูหนาว 1. อุณหภูมิต่ำสุดบริเวณประเทศไทยตอนบน อยู่ในเกณฑ์ อากาศหนาวเย็นเกือบทั่วไป (อุณหภูมิต่ำสุด < 23.0 ซ) อย่างต่อเนื่อง
2. ลมระดับล่าง (ที่ความสูงประมาณ 100-3500 ม.) เป็นลมตะวันออกเฉียงเหนือหรือลมตะวันออก ส่วนลมระดับบน (ที่ความสูงประมาณ 5000 ม. ขึ้นไป) เป็นลมฝ่ายตะวันตก
3. ปริมาณและการกระจายของฝนบริเวณประเทศไทย ตอนบนเริ่มลดลงอย่างต่อเนื่อง
โดยในปีนี้ คาดว่า อุณหภูมิต่ำสุดอยู่ที่ 20-21°c ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ย 1.0°C (ปกติ 19.9°C)
อากาศจะหนาวเย็นกว่าปีที่ผ่านมา
จังหวัดที่มีโอกาสอุณหภูมิหนาวจัด (<8.0°C)
ทั้งหมด 9 จังหวัด* ภาคเหนือ 4 จังหวัด ภาคตะวันเฉียงเหนือ 5 จังหวัด
1.แม่ฮ่องสอน
2.เชียงราย
3.พะเยา
4.น่าน
5.เลย
6.หนองคาย
7.บึงกาฬ
8.สกลนคร
9.นครพนม
*ไม่รวมยอดดอย ยอดภู
บริเวณยอดดอย ยอดภู ยอดเขา จะมีอากาศหนาวถึงหนาวจัด
กรุงเทพมหานครจะมีอุณหภูมิตํ่าสุด 16-18°C
ภาคใต้
มีฝนตกชุกหนาแน่นทางฝั่งตะวันออกของภาคตั้งแต่ ชุมพรลงไปโดยเฉพาะในช่วงเดือน พ.ย. และ ธ.ค. จะมีฝน ตกหนักหลายพื้นที่และหนักมากบางแห่ง ระวัง พายุหมุนเขตร้อน ในเดือน พ.ย. และ ร.ค เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก น้ำล้นตลิ่ง
คาดหมาย เดือน พ.ย 2567
อุณหภูมิเฉลี่ยตํ่าสุด แต่ละภาค
ภาคเหนือ 20-22°c (+1.5)🔴
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20-22°c (+1.0)🔴
ภาคกลาง 22-24°c (+1.0)🔴
ภาคตะวันออก 23-25°c (+1.0)🔴
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 20-22°c (+0.5)🔴
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก 23-25°c (+0.5)🔴
กรุงเทพฯและปริมณฑล 24-26°c (+1.0)🔴
ปริมาณฝน
ภาคเหนือ 20-40 มม. ใกล้ค่าปกติ🟢
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 15-30 มม. สูงกว่าค่าปกติ 10%🔵
ภาคกลาง 20-40 มม. สูงกว่าค่าปกติ 20%🔵
ภาคตะวันออก 50-80 มม. สูงกว่าปกติ 10%🔵
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 370-420 มม. สูงกว่าปกติ🔵 10%🔵
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก 210-260 มม. สูงกว่าปกติ 20%🔵
กรุงเทพฯและปริมณฑล 40-60 มม. สูงกว่าปกติ 20%🔵
คาดหมาย เดือน ธ.ค 2567
อุณหภูมิเฉลี่ยตํ่าสุด แต่ละภาค
ภาคเหนือ 17-19°c (+1.0)🔴
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 18-20°c (+1.0)🔴
ภาคกลาง 20-22°c (+1.0)🔴
ภาคตะวันออก 22-24°c (+1.0)🔴
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 23-25°c (+0.5)🔴
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก 23-25°c (+0.5)🔴
กรุงเทพฯและปริมณฑล 23-25°c (+1.0)🔴
ปริมาณฝน
ภาคเหนือ น้อยกว่า 10 มม. ตํ่ากว่าค่าปกติ 50%🔴
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ น้อยกว่า 10 มม. ตํ่ากว่าค่าปกติ 50%🔴
ภาคกลาง น้อยกว่า 10 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
ภาคตะวันออก 5-15 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 300-350 มม. สูงกว่าปกติ 10%🔵
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก 90-120 มม. สูงกว่าปกติ 10%🔵
กรุงเทพฯและปริมณฑล 10-20 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
คาดหมาย เดือน ม.ค 2568
อุณหภูมิเฉลี่ยตํ่าสุด แต่ละภาค
ภาคเหนือ 16-18°c (+1.0)🔴
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 17-19°c (+1.0)🔴
ภาคกลาง 20-22°c (+1.0)🔴
ภาคตะวันออก 22-24°c (+1.0)🔴
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 22-24°c (+0.5)🔴
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก 23-25°c (+0.5)🔴
กรุงเทพฯและปริมณฑล 23-25°c (+1.0)🔴
ปริมาณฝน
ภาคเหนือ 5-15 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ น้อยกว่า 10 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
ภาคกลาง น้อยกว่า 10 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
ภาคตะวันออก 15-30 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก 130-170 มม. สูงกว่าปกติ 30%🔵
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก 50-80 มม. สูงกว่าปกติ 30%🔵
กรุงเทพฯและปริมณฑล 15-30 มม. ใกล้เคียงค่าปกติ🟢
คาดหมายจังหวัดที่หนาวถึงหนาวจัด
หนาวจัด (<8.0°c)
1. แม่ฮ่องสอน
2.น่าน
3.พะเยา
4.เชียงราย
5.เลย
6.สกลนคร
7.นครพนม
8.หนองคาย
9.บึงกาฬ
หนาว (8.9-15.9°c)
1.เชียงใหม่
2.ลำพูน
3.ลำปาง
4.อุตรดิถต์
5.แพร่
6.สุโขทัย
7.ตาก
8.กำแพงเพชร
9.พิษณุโลก
10.พิจิจร
11.นครสวรรค์
12.เพชรบูรณ์
13.อุทัยธานี
14.ชัยนาท
15.กาญจนบุรี
16.สุพรรณบุรี
17. ราชบุรี
18. นครปฐม
19. สิงห์บุรี
20. อ่าวทอง
21.ลพบุรี
22. สระบุรี
23. พระนครศรีอยุธยา
24. นนทบุรี
25. ปทุมธานี
26. นครนายก
27. ชัยภูมิ
28. นครราชสีมา
29. อุบลราชธานี
30. อุดรธานี
31. หนองบัวลำภู
32. สุรินทร์
33. ศรีสะเกษ
34. บุรีรัมย์
35. ขอนแก่น
36 กาฬสินธุ์
37.มุกดาหาร
38. ยโสธร
39. อำนาจเจริญ
40. ร้อยเอ็ด
41. มหาสารคาม
42. ปราจีนบุรี
43. สระแก้ว
44. ฉะเชิงเทรา
10 อันดับอุณหภูมิตํ่าที่สุดในฤดูหนาว¹ ²
1. -1.4°c 2 ม.ค 2517 สถานีเกษตรสกลนคร
2. -1.3°c 2 ม.ค 2517 สถานีเกษตรเลย
3. 0.0°c 23 ธ.ค 2518 สถานีเกษตรเลย
4. 0.1°c 13 ม.ค 2498 , 2 ม.ค 2517 อ.เมือง จ.เลย
29,30 ธ.ค 2518 สถานีเกษตรเลย
5. 0.2°c 31 ธ.ค 2518 สถานีเกษตรเลย
6. 0.3°c 5 ม.ค 2517 สถานีเกษตรเลย
7. 0.4°c 12 ม.ค 2498 อ.เมือง จ.เลย
8. 0.5°c 12 ม.ค 2498 อ.เมือง จ.สกลนคร
18 ธ.ค 2518 สถานีเกษตรเลย
9. 0.8°c 27 ธ.ค 2542 อ.อุ้มผาง จ.ตาก
31 ธ.ค 2516 สถานีเกษตรเลย
10. 1.0°c 2 ม.ค 2517 สถานีเกษตรน่าน
24 ธ.ค 2518 สถานีเกษตรเลย
25 ธ.ค 2542 สถานีเกษตรเชียงราย
¹ข้อมูลปี พ.ศ. 2494 - 25 ต.ค 2567
²ไม่รวมอุณหภูมิยอดดอย ยอดภู
สภาพอากาศก่อนฤดูหนาว
ในช่วงวันที่ 26-28 ต.ค. 67 พายุโซนร้อนกำลังแรง "จ่ามี" บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน มีศูนย์กลางอยู่ห่าง ประมาณ 800 กม. ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะ ไหหลํา และกำลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตกอย่างช้าๆ คาดว่าจะเคลื่อนเข้าใกล้ชายฝั่งประเทศเวียดนาม ตอนกลาง โดยพายุนี้จะไม่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทย แต่จะ ทําให้มีลมฝ่ายตะวันตก ลมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดเข้าหา ศูนย์กลางของพายุมีกำลังแรงขึ้น ลักษณะเช่นนี้จะทำให้ ประเทศไทยมีฝนเพิ่มขึ้นและมีฝนตกหนักบางแห่งในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก กับ มีลมแรงในช่วงวันดังกล่าว หลังจากนั้นพายุจะเปลี่ยน ทิศทางเคลื่อนตัวออกห่างจากชายฝั่งประเทศเวียดนาม | กลับไปทางทะเลจีนใต้ตอนบน ทําให้ประเทศไทยตอนบน มีฝนลดลง มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยจะมีกำลังแรงขึ้น ทําให้ภาคใต้ มีฝนตกต่อเนื่องและมีฝนตกหนักหลายพื้นที่ โดยมีฝน ตกหนักมากบางแห่ง ขอให้ประชาชนในบริเวณดังกล่าวระวัง อันตรายจากฝนตกหนักถึงหนักมากและฝนที่ตกสะสมซึ่งอาจก่อให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก โดยเฉพาะพื้นที่ลาดเชิงเขาใกล้ทางน้ำไหลผ่านและพื้นที่ลุ่มไว้ด้วย
ขอให้ประชาชนติดตามประกาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา และสามารถ ติดตามข้อมูลที่เว็บไซต์กรมอุตุนิยมวิทยา http://www.tmd.go.th หรือที่ 0-2399-4012-13 และ 1182 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง
จังหวัดที่คาดว่าจะมีฝนตกหนักถึงหนักมาก
วันที่
26 ต.ค
ภาคเหนือ
พิษณุโลก
เพชรบูรณ์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เลย
ชัยภูมิ
นครราชสีมา
ใต้
พังงา
ภูเก็ต
กระบี่
ตรัง
สตูล
27 ต.ค
ภาคเหนือ
อุตรดิษถ์
สุโขทัย
พิษณุโลก แ
และ เพชรบูรณ์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
นครพนม
มุกดาหาร
ยโสธร
อำนาจเจริญ
นครราชสีมา
ศรีษะเกษ
และอุบลราชธานี
ภาคกลางและตะวันออก
นครสวรรค์
อุทัยธานี
ชัยนาท
สุพรรณบุรี
สิ่งห์บุรี
อ่างทอง
ลพบุรี
สระบุรี
พระนครศรีอยุธยา
นครปฐม
สมุทรสาคร
รวมทั้ง กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล
นครนายก
ปราจีนบุรี
สระแก้ว
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
ระยอง
จันทบุรี
ตราด
ภาคใต้
ระนอง
พังงา
ภูเก็ต
กระบี่
ตรัง
และสตูล
28-29 ต.ค
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มุกดาหาร
ยโสธร
อำนาจเจริญ
และ อุบลราชธานี
ภาคกลางและตะวันออก
นครสวรรค์
อุทัยธานี
ชัยนาท
สุพรรณบุรี
สิ่งห์บุรี
อ่างทอง
ลพบุรี
สระบุรี
พระนครศรีอยุธยา
นครปฐม
สมุทรสาคร
รวมทั้ง กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล
นครนายก
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
ระยอง
จันทบุรี
ตราด
ภาคใต้
เพชรบุรี
ประจวบคีรีขันธ์
ชุมพร
สุราษฎร์ธานี
นครศรีธรรมราช
พัทลุง
สงขลา
ระนอง
พังงา
ภูเก็ต
กระบี่
ตรัง
และสตูล
เดือนพฤศจิกายนและธันวาคม ครึ่งแรกของเดือน มีโอกาสสูงที่หย่อมความกดอากาศต่ำ กำลังแรงหรือพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อน ตัวเข้ามาใกล้หรือเคลื่อนผ่านอ่าวไทยและ ภาคใต้ ทำให้ภาคใต้มีฝนตกชุกหนาแน่น รวมทั้งคลื่นลมจะมีกำลังแรง และอาจมี คลื่นพายุชัดฝั่ง ความสูงของคลื่น มากกว่า 3-5 เมตร
ครึ่งแรก พ.ย
เป็นไปได้มากที่สุด บริเวณ ชุมพร-ประจวบคีรีขันธ์
เป็นไปได้รองลงมา บริเวณ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง อุบลราชธานี-อำนาจเจริญ
ครึ่งหลัง พ.ย
เป็นไปได้มากที่สุด บริเวณ พัทลุง-นครศรีธรรมราช
เป็นไปได้รองลงมา บริเวณ ชุมพร-ประจวบคีรีขันธ์
เดือน ธ.ค
เป็นไปได้มากที่สุด บริเวณ สงขลา-ปัตตานี
เป็นไปได้รองลงมา บริเวณจังหวัด พัทลุง
สถานการณ์ ENSO (El Nino Southern Oscillation)³
ปรากฏการณ์ ENSO ที่อยู่ในสภาวะปกติจะเปลี่ยนเข้าสู่สภาวะลานีญาในเดือนตุลาคม 2567 และจะต่อเนื่องไปจนถึงช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2568
ผลการคาดการณ์ปรากฏการณ์ ENSO ราย 3 เดือน ระหว่างเดือน กันยายน 2567 ถึงมีนาคม 2568 แสดงให้เห็นว่าปรากฏการณ์เอนโซ ที่อยู่ในสภาวะปกติจะเปลี่ยนเข้าสู่สภาวะลานีญาในช่วงเดือน ตุลาคม 2567 และจะต่อเนื่องไปจนถึงเดือนมีนาคม 2568
³ข้อมูล 16 ก.ย 2567