.
.
© Kryssia Campos/Getty Images
.
.
ผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์พบว่า
แมวมองคนเราอย่างผสมผสานกัน
แต่สิ่งหนึ่งที่ชัดเจนก็คือ
พวกแมวไม่รักคนเราเหมือนกับหมา
เจ้าของแมวอาจชอบชื่นชมรักเพื่อนแมว
แต่แมวบางตัวกลับตอบแทนแสนจืดจาง
(เสียเงินเป็นแสน แขนไม่ยอมให้จับ)
หรือว่า แมวไม่ชอบคนเราจริง ๆ
ต่างจากหมาที่รักคนเราโดยไม่มีเงื่อนไข
แมวมักถูกกล่าวหาว่า
ใช้คนเราเพื่อตอบสนองความต้องการตนเอง
แมวไม่สนใจว่าคนเราจะอยู่หรือตายไป
แต่ความคิดเหมารวมแบบนี้ถือว่า
ยุติธรรมต่อแมวหรือไม่
ข้อกล่าวหานี้มีความจริงบางประการ
เพราะผลการศึกษาจำนวนมาก
พบหลักฐานว่าแมว
Felis catus
ไม่ได้รักคนเราแบบเดียวกับที่หมารัก
แต่จะทำให้คนเราทำงานหนัก
เพื่อมอบความรักให้กับพวกมัน
ที่รักตอบคนเราแค่ฮิดเดียว
(ฮิด = นิดหน่อย จิ๊บ ๆ)
.
.
ในการศึกษาเมื่อปี 2015
ที่จัดทำสารคดีเรื่อง
Cats v Dogss
นักประสาทวิทยาได้สุ่มตัวอย่าง
น้ำลายของแมวและหมา 10 ตัว
แล้วพบว่า
ระดับฮอร์โมนออกซิโตซิน
จะเพิ่มขึ้นทั้งแมวและสุนัขหลังถูกคนเราลูบขน
ปริมาณออกซิโตซิน(ฮอร์โมนแห่งความรัก)
จะมีความผูกพันทางสังคมในหมาสูงกว่าแมว
โดยเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 57.2% ในหมา
เมื่อเทียบกับแมวมีเพียง 12%
ออกซิโตซิน (Oxytocin) คือ
ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมอง
หน้าที่หลัก ๆ คือ ฮอร์โมนที่จำเป็นสำหรับ
การคลอดลูกและให้นมบุตร
ทำให้เกิดสายใยผูกพันที่ยิ่งใหญ่ของแม่กับลูก
ความสำคัญของออกซิโตซิน
เป็นฮอร์โมนที่ทำให้เกิดความผูกพันกับคนอื่น
ด้วยเช่นเดียวกัน การกอด สัมผัสมือ
หรือการมีเซ็กส์จะทำให้สมอง
หลั่งออกซิโตซินออกมามาก
©
รู้จักฮอร์โมนความรัก
.
.
.
.
ในการศึกษาปี 2021
นักวิจัยได้สำรวจความสัมพันธ์
ระหว่างแมวกับคนเรา
พบว่าพฤติกรรมของแมวที่ห่างเหินนั้น
พบได้น้อยกว่าที่คนเราคาดไว้
“ แมวสร้างความสัมพันธ์
ทางอารมณ์ที่ใกล้ชิดกับคนเรา
แต่จริงๆ แล้วแทบไม่มีใครรู้เรื่องนี้เลย
เช่นเดียวกับความสัมพันธ์ทางสังคม
ที่ซับซ้อน ความผูกพันแบบเจ้าของแมว
เป็นผลจากความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสอง
ที่เกี่ยวข้องกัน ควบคู่ไปกับลักษณะ
บุคลิกภาพบางอย่างของทั้งคู่ "
Daniel Mills ที่ University of Lincoln
ผู้เขียนการศึกษาด้านพฤติกรรมสัตว์
ผู้เชี่ยวชาญ ให้สัมภาษณ์ Livescience
Professor Daniel Mills
animal behavioural specialist at
the University of Lincoln, said:
“Cats form close emotional relationships
with humans, yet little is actually
known about this.As with any complex
social relationship,the type of cat-owner
bond is a product of the dynamic
between both individuals involved,
along with their certain
personality features.
.
.
.
.
.
.
ผลการศึกษาสำรวจเจ้าของแมว 3,994 ราย
ระบุความสัมพันธ์ระหว่างแมว/เจ้าของ 5 แบบ
เพื่อระบุความสัมพันธ์ทางอารมณ์ระหว่างกัน
กำหนดความสัมพันธ์แบบใดแบบหนึ่ง :
ความสัมพันธ์แบบเปิด
ความสัมพันธ์ระยะไกล
ความสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการ
การพึ่งพาอาศัยกัน
มิตรภาพด้วยกัน
ความสัมพันธ์แบบเปิด
ความสัมพันธ์ที่ห่างเหิน/มิตรภาพมากที่สุด
โดยผลลัพธ์มีความผูกพัน
ที่แตกต่างกันออกไปพอสมควร
โดยครึ่งหนึ่งแสดงถึงการลงทุนทางอารมณ์
และอีกครึ่งหนึ่งมีความสัมพันธ์
ที่ห่างเหินกันระหว่างทั้งคู่มากกว่า
“ ฉันคิดว่ามีความผูกพันทางอารมณ์
ระหว่างแมวกับเจ้าของ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ถ้าเราคำนึงถึงเวลาที่อยู่ด้วยกันยาวนานมาก
อย่างไรก็ตาม ฉันไม่แน่ใจว่า
เราจะพูดถึงความผูกพันได้
ในลักษณะเดียวกับหมาและพวกแมวได้หรือไม่
เจ้าของแมว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับแมวโต
(ตอนเล็กกำพร้า น่ารักน่าผูกพัน
ตอนโตกำแหง หลบหนีความสัมพันธ์) "
Claire Ricci-Bonot ผู้เขียนรายงานการศึกษา
และผู้เชี่ยวชาญด้านพฤติกรรมสัตว์
University of Lincoln กล่าวกับ Livescience
.
.
.
.
การศึกษาพบว่า
แมวสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมกับคนเราได้
แต่ขึ้นอยู่กับอารมณ์ความรู้สึกจากเจ้าของ
และไม่ว่าแมวจะได้รับอิสระ
ในระดับที่พวกมันต้องการหรือไม่
การศึกษาแยกต่างหากในปี 2019
ยังพบหลักฐานความผูกพันระหว่างเจ้าของแมว
แต่ตั้งข้อสังเกตว่าเมื่อเปรียบเทียบกับหมาแล้ว
เจ้าของต้องใช้ความพยายามกับแมวมากกว่า
ในการสร้างความเชื่อมโยงนี้
ผลการศึกษาก่อนหน้านี้ในปี
2008
พบว่าความดันโลหิตของแมว
เพิ่มขึ้นมากเมื่อพบกับคนเรา
พวกมันมีความผูกพันกัน
โดยนัยว่าความสัมพันธ์ของ
เจ้าของแมวมีความสำคัญ
อัตราการเต้นของหัวใจของแมว
ที่เพิ่มขึ้นนั้นเป็นผลมาจาก
ความตื่นเต้น/การคาดหวังที่จะได้รับรางวัล
“ ประเภทของความสัมพันธ์ที่แมวกับเจ้าของ
มีให้กันนั้นขึ้นอยู่กับระดับการลงทุน
ทางอารมณ์ของเจ้าของที่มีต่อแมว
และความเป็นกันเองของแมว
แต่ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ต้องพิจารณา เช่น
บุคลิกภาพของแมว ตลอดจนการเข้าสังคม
วิธีการที่คนเราเลี้ยงพวกมัน(ในบ้าน/นอกบ้าน)
แมวบางตัวอาจสามารถสร้าง
ความผูกพันที่ใกล้ชิดกับเจ้าของได้
แต่ทุกความสัมพันธ์นั้น
มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแมว "
Claire Ricci-Bonot กล่าวสรุป
(แมวบางตัวจะอินดี้มาก
อินดี้ (อังกฤษ: Indy หรือ Indies)
เป็นรูปย่อของคำว่า Independence
ในภาษาอังกฤษ ซึ่งหมายถึง "อิสรภาพ"
คำว่า "อินดี้" สามารถหมายถึง
ดนตรีอิสระ (อังกฤษ: Independent music)
เพลงวัฒนธรรมย่อยที่ไม่ขึ้นต่อค่ายเพลงหลัก
อินดีป็อป (อังกฤษ: Indie pop) -
แนวเพลงป๊อปรูปแบบหนึ่ง
© วิกีพีเดีย )
.
.
.
.
.
.
การศึกษาในปี
2021 พบว่า
แมวโน้มตัวเข้าหาคนเราที่อ่าน
สัญญาณพฤติกรรมอันละเอียดอ่อนของแมว
และปล่อยให้พวกแมวเลือก/ควบคุมได้ว่า
จะให้คนเรามีส่วนร่วมมากน้อยเพียงใด
โดยแมวไม่ชอบการถูกบังคับความสนใจ
และจะกลายเป็นศัตรู หรือหลีกเลี่ยง
คนเราที่บังคับให้มีปฏิสัมพันธ์กับแมว
.
.
.
.
“ผลการวิจัยแสดงให้เห็นถึง
ความพึงพอใจที่ชัดเจนในหมู่แมว
ที่ต้องการใช้วิธี
ปล่อยมือ มากขึ้น
ในการลูบคลำตัวแมว ซึ่งท้ายที่สุดแล้ว
พวกมันก็สามารถเลือกได้เกือบทั้งหมด
แมวไม่จำเป็นต้องแสดงออกมากเกินไป
เมื่อต้องสื่อสารความรู้สึก
ซึ่งมักจะทำให้เกิดปัญหาระหว่างการลูบคลำ
เพราะแมวหลายตัวอาจรู้สึก
อึดอัดเล็กน้อยในบางครั้ง
แต่นี่ไม่ใช่สิ่งที่เป็นเช่นนั้น
มันง่ายสำหรับเราที่จะยกมือขึ้นมา"
Lauren Finka ผู้เขียนการศึกษา
ผู้เชี่ยวชาญด้านพฤติกรรม/สวัสดิภาพของแมว
Nottingham Trent University
กล่าวให้
สัมภาษณ์กับ Livesicence
.
.
หมาเป็นสัตว์ชนิดแรก
ที่ถูกเลี้ยงเมื่อราว 23,000 ปีก่อน
ในช่วงยุค
Pleistocence Era
ราว 2.6 ล้านปี - 11,700 ปีก่อน
การเลี้ยงแมวเกิดขึ้นในเวลาต่อมา
แมวเป็นสัตว์เลี้ยงเมื่อราว 10,000 ปีที่แล้ว
แมวเป็นที่รักของชาวนาอนาโตเลียโบราณ
โดยแมวกินสัตว์ฟันแทะทึ่มากินพืชผล
.
.
.
.
.
.
Cat domestication: From farms to sofas
.
.
.
.
เรียบเรียง/ที่มา
Do cats really hate us?
.
สัญญาเลี้ยงแมว
ในสมัยราชวงศ์ซ่งของจีน
เมื่อคนเราได้รับแมวมา จะต้องเลือกวันมงคล
แล้วเชิญนักพรตเต๋าทำพิธีกรรมไคกวง (開光)
โดยเชิญเทพเจ้าเต๋าที่สำคัญที่สุดสององค์
เจ้าแม่แห่งตะวันตกกับเจ้าชายแห่งตะวันออก
ทั้งสององค์จะเสด็จลงมาจากสรวงสวรรค์
เพื่อทรงเป็นสักขีพยานในการทำสัญญา
ในช่วงเวลานั้น
ที่อารมณ์ความรู้สึกของเจ้าของกับแมว
จะเริ่มเชื่อมโยงกันและได้รับการประทานพรให้
เชื่อกันว่าการลงนามในสัญญานี้
จะทำให้แมวไม่หนีออกจากบ้าน
.
ที่มา Sinosphere 漢字文化圈
.
แมวโดยทั่วไปไม่ได้เกลียดคนเรา
แต่พฤติกรรมและนิสัยของแมว
อาจทำให้เข้าใจผิดได้ว่า
แมวเกลียดคนเรา ทั้งนี้เนื่องจาก:
1. แมวเป็นสัตว์ที่ชอบอิสระ
และมีนิสัยเป็นตัวของตัวเอง
จึงไม่ชอบถูกบังคับหรือจับต้องมากเกินไป
2. แมวมักระแวงสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ
รวมถึงคนแปลกหน้า
ทำให้แมวอาจแสดงท่าที
หวาดกลัวหรือก้าวร้าว
3. หากแมวเคยได้รับประสบการณ์ไม่ดี
กับคน เช่น ถูกทำร้าย ก็อาจส่งผลให้แมว
ไม่ไว้ใจและกลัวคน
4. พฤติกรรมบางอย่างของแมว เช่น
การเมินเฉยต่อเจ้าของ
อาจถูกตีความผิดไปว่า
แมวไม่ชอบหรือเกลียดคน
อย่างไรก็ตาม แมวส่วนใหญ่สามารถสร้าง
ความผูกพันและความรักใคร่กับเจ้าของได้
หากได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่ดี
ให้เวลาในการปรับตัว
และเคารพในธรรมชาติของแมว
ความสัมพันธ์อันดีระหว่าง
แมวกับคนเลี้ยงย่อมเกิดขึ้นได้
แมวเกลียดคนเราจริงหรือไม่
.
© Kryssia Campos/Getty Images
.
ผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์พบว่า
แมวมองคนเราอย่างผสมผสานกัน
แต่สิ่งหนึ่งที่ชัดเจนก็คือ
พวกแมวไม่รักคนเราเหมือนกับหมา
เจ้าของแมวอาจชอบชื่นชมรักเพื่อนแมว
แต่แมวบางตัวกลับตอบแทนแสนจืดจาง
(เสียเงินเป็นแสน แขนไม่ยอมให้จับ)
หรือว่า แมวไม่ชอบคนเราจริง ๆ
ต่างจากหมาที่รักคนเราโดยไม่มีเงื่อนไข
แมวมักถูกกล่าวหาว่า
ใช้คนเราเพื่อตอบสนองความต้องการตนเอง
แมวไม่สนใจว่าคนเราจะอยู่หรือตายไป
แต่ความคิดเหมารวมแบบนี้ถือว่า
ยุติธรรมต่อแมวหรือไม่
ข้อกล่าวหานี้มีความจริงบางประการ
เพราะผลการศึกษาจำนวนมาก
พบหลักฐานว่าแมว Felis catus
ไม่ได้รักคนเราแบบเดียวกับที่หมารัก
แต่จะทำให้คนเราทำงานหนัก
เพื่อมอบความรักให้กับพวกมัน
ที่รักตอบคนเราแค่ฮิดเดียว
(ฮิด = นิดหน่อย จิ๊บ ๆ)
.
.
BBC
.
ในการศึกษาเมื่อปี 2015
ที่จัดทำสารคดีเรื่อง Cats v Dogss
นักประสาทวิทยาได้สุ่มตัวอย่าง
น้ำลายของแมวและหมา 10 ตัว
แล้วพบว่า ระดับฮอร์โมนออกซิโตซิน
จะเพิ่มขึ้นทั้งแมวและสุนัขหลังถูกคนเราลูบขน
ปริมาณออกซิโตซิน(ฮอร์โมนแห่งความรัก)
จะมีความผูกพันทางสังคมในหมาสูงกว่าแมว
โดยเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 57.2% ในหมา
เมื่อเทียบกับแมวมีเพียง 12%
ออกซิโตซิน (Oxytocin) คือ
ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมอง
หน้าที่หลัก ๆ คือ ฮอร์โมนที่จำเป็นสำหรับ
การคลอดลูกและให้นมบุตร
ทำให้เกิดสายใยผูกพันที่ยิ่งใหญ่ของแม่กับลูก
ความสำคัญของออกซิโตซิน
เป็นฮอร์โมนที่ทำให้เกิดความผูกพันกับคนอื่น
ด้วยเช่นเดียวกัน การกอด สัมผัสมือ
หรือการมีเซ็กส์จะทำให้สมอง
หลั่งออกซิโตซินออกมามาก
© รู้จักฮอร์โมนความรัก
.
.
.
ในการศึกษาปี 2021
นักวิจัยได้สำรวจความสัมพันธ์
ระหว่างแมวกับคนเรา
พบว่าพฤติกรรมของแมวที่ห่างเหินนั้น
พบได้น้อยกว่าที่คนเราคาดไว้
“ แมวสร้างความสัมพันธ์
ทางอารมณ์ที่ใกล้ชิดกับคนเรา
แต่จริงๆ แล้วแทบไม่มีใครรู้เรื่องนี้เลย
เช่นเดียวกับความสัมพันธ์ทางสังคม
ที่ซับซ้อน ความผูกพันแบบเจ้าของแมว
เป็นผลจากความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสอง
ที่เกี่ยวข้องกัน ควบคู่ไปกับลักษณะ
บุคลิกภาพบางอย่างของทั้งคู่ "
Daniel Mills ที่ University of Lincoln
ผู้เขียนการศึกษาด้านพฤติกรรมสัตว์
ผู้เชี่ยวชาญ ให้สัมภาษณ์ Livescience
Professor Daniel Mills
animal behavioural specialist at
the University of Lincoln, said:
“Cats form close emotional relationships
with humans, yet little is actually
known about this.As with any complex
social relationship,the type of cat-owner
bond is a product of the dynamic
between both individuals involved,
along with their certain
personality features.
.
.
.
.
ผลการศึกษาสำรวจเจ้าของแมว 3,994 ราย
ระบุความสัมพันธ์ระหว่างแมว/เจ้าของ 5 แบบ
เพื่อระบุความสัมพันธ์ทางอารมณ์ระหว่างกัน
กำหนดความสัมพันธ์แบบใดแบบหนึ่ง :
ความสัมพันธ์แบบเปิด
ความสัมพันธ์ระยะไกล
ความสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการ
การพึ่งพาอาศัยกัน
มิตรภาพด้วยกัน
ความสัมพันธ์แบบเปิด
ความสัมพันธ์ที่ห่างเหิน/มิตรภาพมากที่สุด
โดยผลลัพธ์มีความผูกพัน
ที่แตกต่างกันออกไปพอสมควร
โดยครึ่งหนึ่งแสดงถึงการลงทุนทางอารมณ์
และอีกครึ่งหนึ่งมีความสัมพันธ์
ที่ห่างเหินกันระหว่างทั้งคู่มากกว่า
“ ฉันคิดว่ามีความผูกพันทางอารมณ์
ระหว่างแมวกับเจ้าของ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ถ้าเราคำนึงถึงเวลาที่อยู่ด้วยกันยาวนานมาก
อย่างไรก็ตาม ฉันไม่แน่ใจว่า
เราจะพูดถึงความผูกพันได้
ในลักษณะเดียวกับหมาและพวกแมวได้หรือไม่
เจ้าของแมว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับแมวโต
(ตอนเล็กกำพร้า น่ารักน่าผูกพัน
ตอนโตกำแหง หลบหนีความสัมพันธ์) "
Claire Ricci-Bonot ผู้เขียนรายงานการศึกษา
และผู้เชี่ยวชาญด้านพฤติกรรมสัตว์
University of Lincoln กล่าวกับ Livescience
.
.
การศึกษาพบว่า
แมวสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมกับคนเราได้
แต่ขึ้นอยู่กับอารมณ์ความรู้สึกจากเจ้าของ
และไม่ว่าแมวจะได้รับอิสระ
ในระดับที่พวกมันต้องการหรือไม่
การศึกษาแยกต่างหากในปี 2019
ยังพบหลักฐานความผูกพันระหว่างเจ้าของแมว
แต่ตั้งข้อสังเกตว่าเมื่อเปรียบเทียบกับหมาแล้ว
เจ้าของต้องใช้ความพยายามกับแมวมากกว่า
ในการสร้างความเชื่อมโยงนี้
ผลการศึกษาก่อนหน้านี้ในปี 2008
พบว่าความดันโลหิตของแมว
เพิ่มขึ้นมากเมื่อพบกับคนเรา
พวกมันมีความผูกพันกัน
โดยนัยว่าความสัมพันธ์ของ
เจ้าของแมวมีความสำคัญ
อัตราการเต้นของหัวใจของแมว
ที่เพิ่มขึ้นนั้นเป็นผลมาจาก
ความตื่นเต้น/การคาดหวังที่จะได้รับรางวัล
“ ประเภทของความสัมพันธ์ที่แมวกับเจ้าของ
มีให้กันนั้นขึ้นอยู่กับระดับการลงทุน
ทางอารมณ์ของเจ้าของที่มีต่อแมว
และความเป็นกันเองของแมว
แต่ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ต้องพิจารณา เช่น
บุคลิกภาพของแมว ตลอดจนการเข้าสังคม
วิธีการที่คนเราเลี้ยงพวกมัน(ในบ้าน/นอกบ้าน)
แมวบางตัวอาจสามารถสร้าง
ความผูกพันที่ใกล้ชิดกับเจ้าของได้
แต่ทุกความสัมพันธ์นั้น
มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแมว "
Claire Ricci-Bonot กล่าวสรุป
(แมวบางตัวจะอินดี้มาก
อินดี้ (อังกฤษ: Indy หรือ Indies)
เป็นรูปย่อของคำว่า Independence
ในภาษาอังกฤษ ซึ่งหมายถึง "อิสรภาพ"
คำว่า "อินดี้" สามารถหมายถึง
ดนตรีอิสระ (อังกฤษ: Independent music)
เพลงวัฒนธรรมย่อยที่ไม่ขึ้นต่อค่ายเพลงหลัก
อินดีป็อป (อังกฤษ: Indie pop) -
แนวเพลงป๊อปรูปแบบหนึ่ง
© วิกีพีเดีย )
.
.
.
.
การศึกษาในปี 2021 พบว่า
แมวโน้มตัวเข้าหาคนเราที่อ่าน
สัญญาณพฤติกรรมอันละเอียดอ่อนของแมว
และปล่อยให้พวกแมวเลือก/ควบคุมได้ว่า
จะให้คนเรามีส่วนร่วมมากน้อยเพียงใด
โดยแมวไม่ชอบการถูกบังคับความสนใจ
และจะกลายเป็นศัตรู หรือหลีกเลี่ยง
คนเราที่บังคับให้มีปฏิสัมพันธ์กับแมว
.
.
“ผลการวิจัยแสดงให้เห็นถึง
ความพึงพอใจที่ชัดเจนในหมู่แมว
ที่ต้องการใช้วิธี ปล่อยมือ มากขึ้น
ในการลูบคลำตัวแมว ซึ่งท้ายที่สุดแล้ว
พวกมันก็สามารถเลือกได้เกือบทั้งหมด
แมวไม่จำเป็นต้องแสดงออกมากเกินไป
เมื่อต้องสื่อสารความรู้สึก
ซึ่งมักจะทำให้เกิดปัญหาระหว่างการลูบคลำ
เพราะแมวหลายตัวอาจรู้สึก
อึดอัดเล็กน้อยในบางครั้ง
แต่นี่ไม่ใช่สิ่งที่เป็นเช่นนั้น
มันง่ายสำหรับเราที่จะยกมือขึ้นมา"
Lauren Finka ผู้เขียนการศึกษา
ผู้เชี่ยวชาญด้านพฤติกรรม/สวัสดิภาพของแมว
Nottingham Trent University
กล่าวให้ สัมภาษณ์กับ Livesicence
.
.
.
.
.
.
หมาเป็นสัตว์ชนิดแรก
ที่ถูกเลี้ยงเมื่อราว 23,000 ปีก่อน
ในช่วงยุค Pleistocence Era
ราว 2.6 ล้านปี - 11,700 ปีก่อน
การเลี้ยงแมวเกิดขึ้นในเวลาต่อมา
แมวเป็นสัตว์เลี้ยงเมื่อราว 10,000 ปีที่แล้ว
แมวเป็นที่รักของชาวนาอนาโตเลียโบราณ
โดยแมวกินสัตว์ฟันแทะทึ่มากินพืชผล
.
.
.
.
.
Cat domestication: From farms to sofas
.
.
.
เรียบเรียง/ที่มา
Do cats really hate us?
.
.
เรื่องเดิม
.
DNA กับตำนานแมวครองโลก
.
.
.
สัญญาเลี้ยงแมว
ในสมัยราชวงศ์ซ่งของจีน
เมื่อคนเราได้รับแมวมา จะต้องเลือกวันมงคล
แล้วเชิญนักพรตเต๋าทำพิธีกรรมไคกวง (開光)
โดยเชิญเทพเจ้าเต๋าที่สำคัญที่สุดสององค์
เจ้าแม่แห่งตะวันตกกับเจ้าชายแห่งตะวันออก
ทั้งสององค์จะเสด็จลงมาจากสรวงสวรรค์
เพื่อทรงเป็นสักขีพยานในการทำสัญญา
ในช่วงเวลานั้น
ที่อารมณ์ความรู้สึกของเจ้าของกับแมว
จะเริ่มเชื่อมโยงกันและได้รับการประทานพรให้
เชื่อกันว่าการลงนามในสัญญานี้
จะทำให้แมวไม่หนีออกจากบ้าน
.
ที่มา Sinosphere 漢字文化圈
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
แมวโดยทั่วไปไม่ได้เกลียดคนเรา
แต่พฤติกรรมและนิสัยของแมว
อาจทำให้เข้าใจผิดได้ว่า
แมวเกลียดคนเรา ทั้งนี้เนื่องจาก:
1. แมวเป็นสัตว์ที่ชอบอิสระ
และมีนิสัยเป็นตัวของตัวเอง
จึงไม่ชอบถูกบังคับหรือจับต้องมากเกินไป
2. แมวมักระแวงสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ
รวมถึงคนแปลกหน้า
ทำให้แมวอาจแสดงท่าที
หวาดกลัวหรือก้าวร้าว
3. หากแมวเคยได้รับประสบการณ์ไม่ดี
กับคน เช่น ถูกทำร้าย ก็อาจส่งผลให้แมว
ไม่ไว้ใจและกลัวคน
4. พฤติกรรมบางอย่างของแมว เช่น
การเมินเฉยต่อเจ้าของ
อาจถูกตีความผิดไปว่า
แมวไม่ชอบหรือเกลียดคน
อย่างไรก็ตาม แมวส่วนใหญ่สามารถสร้าง
ความผูกพันและความรักใคร่กับเจ้าของได้
หากได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่ดี
ให้เวลาในการปรับตัว
และเคารพในธรรมชาติของแมว
ความสัมพันธ์อันดีระหว่าง
แมวกับคนเลี้ยงย่อมเกิดขึ้นได้