ในอดีตจะเห็นได้ว่า ถ้าคนเป็นพ่อหรือบิดาสิ้นไป ในฐานะเจ้าเมือง ก็จะส่งบัลลังค์ให้ลูกชายคนโต ส่วนลูกชายคนเล็กแทบหมดสิทธิ์
ถึงแม้จะเป็นลูกเมียหลวงเหมือนกันก็ตาม ยกเว้นเสียว่าพี่ชายตาย แล้วคนที่ได้คือลูกชายคนโตที่รองจากคนตาย
หรือลูกชายคนกลาง ยกเว้นเหลือลูกชายคนสุดท้าย
แต่พอมามองยุคสมัยนี้ ก็พบว่าลูกชายคนเล็กมีโอกาสได้รับมรดกเยอะขึ้น พ่อแม่รักลูกชายคนเล็กมากขึ้น ส่งต่อกิจการให้มากขึ้น
อยากทราบว่าการให้บัลลังค์ลูกชายคนเล็ก จึงมักให้ไม่ได้ครับ หรือจะทำให้ก่อนตายก็ได้เช่น เริ่มส่งอำนาจให้ลูกชายคนเล็ก
ก่อนขึ้นครองบัลลังค์ แต่ไม่ว่าจะอาณาจักรไหน คนที่ได้ขึ้นต่อจากเจ้าเมืองที่ไม่มีชีวิตแล้วคือ ลูกชายคนโต
ในอดีตทำไมเจ้าเมืองมักจะไม่ให้บัลลังค์แก่ลูกชายคนเล็กครับ หรือปลูกฝังต้องให้แต่ลูกชายคนโต
ถึงแม้จะเป็นลูกเมียหลวงเหมือนกันก็ตาม ยกเว้นเสียว่าพี่ชายตาย แล้วคนที่ได้คือลูกชายคนโตที่รองจากคนตาย
หรือลูกชายคนกลาง ยกเว้นเหลือลูกชายคนสุดท้าย
แต่พอมามองยุคสมัยนี้ ก็พบว่าลูกชายคนเล็กมีโอกาสได้รับมรดกเยอะขึ้น พ่อแม่รักลูกชายคนเล็กมากขึ้น ส่งต่อกิจการให้มากขึ้น
อยากทราบว่าการให้บัลลังค์ลูกชายคนเล็ก จึงมักให้ไม่ได้ครับ หรือจะทำให้ก่อนตายก็ได้เช่น เริ่มส่งอำนาจให้ลูกชายคนเล็ก
ก่อนขึ้นครองบัลลังค์ แต่ไม่ว่าจะอาณาจักรไหน คนที่ได้ขึ้นต่อจากเจ้าเมืองที่ไม่มีชีวิตแล้วคือ ลูกชายคนโต