แผนแม่บทการพัฒนาประเทศไทยเพื่อให้เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ใน 25 ปี หรือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 ปี 1995 ถึง 2020
หรือ 2538 ถึง 2563
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 เป็นแผนปฏิรูปความคิดและคุณค่าใหม่ของสังคมไทย ที่เน้นให้ “คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา” และใช้เศรษฐกิจเป็นเพียงเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนามาเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม มีกระบวนการที่จะเชื่อมโยง มิติต่างๆ ของการพัฒนา ตลอดจนเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายร่วมกันจัดทำแผน เพื่อให้ผู้จัดทำแผนและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่เป็นบุคคลกลุ่มเดียวกัน
https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3783
เป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่8คือ
ประเทศไทยจะเป็นประเทศพัฒนาแล้วในปี2020 หรือ 25 ปีจากปี 1995 (2538-2563=25 ปี)
เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกทั้งในแง่บวกและลบ การพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัฒน์
จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ในการเตรียมการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจและสังคมไทยใหม่ให้เข้มแข็งพร้อมรับสถานการณ์ในอนาคต
จึงจะสามารถช่วงชิงโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงในประชาคมโลกมาใช้เป็นแรงผลักดันในการพัฒนาประเทศไทยให้สอดคล้องกับพื้นฐานของวัฒนธรรมไทยและตรงกับความต้องการของคนไทย
ทั้งนี้เพื่อให้ประเทศไทยสามารถก้าวไปสู่ความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2020 (พ.ศ. 2563) โดยเศรษฐกิจไทยจะมีขนาดเป็นลำดับ 8 ของโลก
คนไทยมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวไม่ต่ำกว่า 300,000 บาทต่อปี หรือ ประมาณ 12,000เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งวัด ณ ระดับราคาปี 2536
สัดส่วนคนยากจนจะลดลงต่ำกว่าร้อยละ 5 ควบคู่กันไปกับการมีคุณภาพชีวิตดีของประชาชนส่วนใหญ่ ดังรายละเอียดซึ่งทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันกำหนดขึ้นเป็นวิสัยทัศน์สังคมไทยพึงประสงค์ในอีก 25 ปีข้างหน้า คือ
1) ในปี2020 สังคมไทยจะเป็นสังคมซึ่งมีความเป็นปึกแผ่น มีความภูมิใจในความเป็นไทยและดำรงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ มีความมั่นคง สงบสุข สันติกับนานาชาติ
ประเทศไทยได้รับการยกย่องเป็นประเทศระดับแนวหน้าในประชาคมโลก เป็นสังคมที่คนมีความสุข อยู่ในครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง
สังคมมีสมรรถภาพ มีเสถียรภาพ มีความเสมอภาค มีความยุติธรรม มีระเบียบวินัย มีความเมตตากรุณา เคารพในสิทธิมนุษยชน มีหลักธรรมของศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวในการดำรงชีวิตของคนไทย
2) ประชาชนทุกคนมีโอกาสพัฒนาศักยภาพของตนเองมากขึ้น ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และมีส่วนร่วมอย่างเต็มภาคภูมิในกระบวนการพัฒนาประเทศ
เด็กไทยทุกคนจะได้รับการดูแลเอาใจใส่ด้านสุขภาพตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา ได้รับสารอาหารครบถ้วนตั้งแต่ปฐมวัย รวมทั้งได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 12 ปี และทุกคนมีโอกาสเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมที่มีคุณภาพ
3) คนไทยมีขีดความสามารถพร้อมที่จะปรับตัวเพื่อรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับที่สามารถแข่งขันกับนานาชาติได้ คนไทยวัยหนุ่มสาวได้รับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของคนในกลุ่มอายุ 18 - 24 ปี
กลุ่มคนผู้ขาดโอกาสในสังคมได้รับบริการทางการศึกษาและการมีงานทำอย่างทั่วถึงถ้วนหน้า
คนไทยจะมีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถ รู้จักตัวเอง รู้เท่าทันโลก และมีศักยภาพที่จะปรับตัวเองอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่าตลอดทุกช่วงวัยของชีวิต
มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ โดยมีความสมดุลกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเป็นฐานการจ้างงานและสร้างโอกาสในการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรมทั่วหน้าทุกกลุ่มประชาชนทุกพื้นที่
4) ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในภูมิภาคและชนบทไม่แตกต่างจากคนในเมืองหลวง คือได้รับบริการโครงสร้างพื้นฐานและบริการพื้นฐานทางสังคมซึ่งจำเป็นอย่างมีคุณภาพและทั่วถึง สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างสะดวกด้วยเครือข่ายระบบโทรคมนาคมและขนส่งซึ่งครอบคลุมทุกพื้นที่ อย่างเท่าเทียมทั่วถึง ทั่วประเทศไทย
มีโอกาสและทางเลือกในการประกอบอาชีพได้อย่างเสรี และใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการดูแลรักษา บริหารจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพของคนในปี2538
เพื่อเป็นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืนแก่คนรุ่นหลัง(2563/2020) คนไทยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น มีเมืองและชุมชนน่าอยู่อาศัย มีความปลอด ภัย และเป็นความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ
7) มีระบบการเมืองที่เป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ โดยมีองค์พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีภาคราชการที่มีประสิทธิภาพ มีนักการเมืองและข้าราชการที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถสูง ยึดผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติเป็นหลักเป็นที่พึ่งและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง
ผลของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
1) รัฐบาลนายกรัฐมนตรี บรรหาร 2538 - 2539
เนื่องจากการแก้ไขแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 เพื่อสนับสนุนการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 และ การจัดทำ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 โดยเพิ่ม วัตถุประสงค์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แทน การพัฒนาเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียวในห้วงเวลาที่ผ่านมา มีปัญหาในระดับปฏิบัติการ
จึงจำเป็นต้อง จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 ด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ เพื่อเป็นเครื่องมือในการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 และ จัดทำ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3782 หน้า 157
https://dl.parliament.go.th/handle/20.500.13072/367183
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 นับเป็นจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนพลังทางสังคมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างใหญ่ และนำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย 2540
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/055/1.PDF
2) รัฐบาลต้มยำกุ้ง 2539 - 2540 / 1996 - 1997
มติคณะรัฐมนตรี 23 กรกฎาคม 2539 มีมติให้เริ่มใช้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 ตั้งแต่ 1 คุลาคม 2539
ส่งผลให้สามารถอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ได้สำเร็จใน 6 เดือน และ จัดทำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 ได้ใน 11 เดือน
เด็กไทยทุกคนได้เรียนในสถานศึกษาใกล้บ้าน รวมถึงเด็กพิการ สำเร็จใน 6 เดือน
https://drive.google.com/file/d/1l9b-mUDDOvsfkyj2DUSzOwBrGM84Lhxt/view
การอภิวัฒน์การศึกษาให้คนไทยอายุ 3-17 ปี จากครอบครัวเกษตรกรยากจน 4.35 ล้านคน จาก ทุกที่ ทั่วไทย ทั่วถึง ได้เรียนอย่างเท่าเทียม เป็นครั้งแรก เมื่อ 8 พฤษภาคม 2540
ในประวัติศาสตร์การจัดบริการการศึกษาไทย เนื่องจากนำเด็กด้อยโอกาสจากครอบครัวเกษตรกรยากจนในชนบท 4.35ล้านคนมารับบริการการศึกษา พร้อมอาหารครบหมู่อย่างน้อยและ อุปกรณ์ครบครัน เพื่อแก้ไขปัญหา เด็กไทยขาดอาหารตายปีละ หลายหมื่นยูเนสโก ( UNESCO) บันทึกการอภิวัฒน์การศึกษาไทย ปี2538 และความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรมแล้ว
เอกสารอ้างอิง
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000113535 ลิ้งค์บันทึกการอภิวัฒน์การศึกษา
ยูเนสโก มอบรับรางวัลการจัดบริการการศึกษาเป็นเลิศให้ประเทศไทย ปี2540
เอกสารอ้างอิง
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000114483
รางวัลการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการบริหารการศึกษา และ บริการการศึกษาให้ประเทศไทย 2541
เอกสารอ้างอิง
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000141834
รางวัลการบริหารการศึกษาเพื่อให้เด็กจากครอบครัวยากจนได้เรียน เมื่อปี 2539
เอกสารอ้างอิง
https://web.archive.org/web/20220904100222/https://www.seameo.org/vl/library/dlwelcome/photogallery/president/sukavich.htm
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/055/1.PDF
ได้รับความร่วมมือกับ รัฐบาลญี่ปุ่น สนามบินสุวรรณภูมิ 2539 - 2543 ยืดเยื้อ 6 ปี และ โครงการ กก - อิง - น่าน 2542 ในที่สุดไม่สำเร็จ
https://www.jsce.or.jp/e/archive/project/pj17.html
3) รัฐบาลนายกรัฐมนตรี ชวน 2
และ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนอีกมากมาย ซึ่งส่งผลให้รัฐบาลพรรคไทยรักไทยสามารถบริหารราชการแผ่นดินได้อย่างเป็นรูปธรรม
4) รัฐบาลพรรคไทยรักไทย
OTOP และ กองทุนหมุ่บ้าน
โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ เดิม ชื่อ โครงการเศรษฐกิจชุมชน อุตสาหกรรม ชุมชน เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8
เอกสารอ้างอิง
https://dl.parliament.go.th/handle/20.500.13072/367183
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 ถูกจัดทำขึ้นด้วย กระบวนทัศน์ใหม่ เพื่อเป็นเครื่องมือ ในการปฏิรูปการศึกษาอย่างบูรณาการ หรือ ปฏิรูปประเทศไทย ให้เป็น ประเทศพัฒนาแล้วใน 25 ปี 1995 - 2020
โดยการแก้ไขปัญหาของประเทศไทย ถึง โครงสร้าง ด้วย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
ในที่สุดกระบวนการนี้ ดำเนินการไปได้ 11 ปี 4 รัฐบาล
สำหรับ ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชุมชน และ อุตสาหกรรมชุมชน
โครงการ สินค้าเศรษฐกิจชุมชน และ วิสาหกิจชุมชน เพื่อส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการพัฒนาท้องถิ่น สร้างชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเองได้ ให้ประชาชน มีส่วนร่วม ในการสร้างงาน สร้างรายได้ ด้วยการนำทรัพยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์และบริการ มีคุณภาพ มีมูลค่าเพิ่ม สอดคล้องกับวัฒนธรรมหรือ วิถีชีวิตของท้องถิ่น เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวในประเทศ และ ส่งออกภูมิปัญญาไทย ในฐานะทูตทางวัฒนธรรม เช่นเดียวกับ อาหารไทย เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
1) รัฐบาลนายกรัฐมนตรีบรรหาร
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 เป็นแผนปฏิรูปความคิดและคุณค่าใหม่ของสังคมไทย ที่เน้นให้ “คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา” และใช้เศรษฐกิจเป็นเพียงเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนามาเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม มีกระบวนการที่จะเชื่อมโยง มิติต่างๆ ของการพัฒนา ตลอดจนเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายร่วมกันจัดทำแผน เพื่อให้ผู้จัดทำแผนและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่เป็นบุคคลกลุ่มเดียวกัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3783
2) รัฐบาลต้มยำกุ้ง
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 นับเป็นจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนพลังทางสังคมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างใหญ่ และนำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย 2540
[img]
https://f.ptcdn.info/471/085/000/m10j36r1i3KoQTM0C
แผนแม่บทการพัฒนาประเทศไทย
หรือ 2538 ถึง 2563
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 เป็นแผนปฏิรูปความคิดและคุณค่าใหม่ของสังคมไทย ที่เน้นให้ “คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา” และใช้เศรษฐกิจเป็นเพียงเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนามาเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม มีกระบวนการที่จะเชื่อมโยง มิติต่างๆ ของการพัฒนา ตลอดจนเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายร่วมกันจัดทำแผน เพื่อให้ผู้จัดทำแผนและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่เป็นบุคคลกลุ่มเดียวกัน
https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3783
เป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่8คือ
ประเทศไทยจะเป็นประเทศพัฒนาแล้วในปี2020 หรือ 25 ปีจากปี 1995 (2538-2563=25 ปี)
เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกทั้งในแง่บวกและลบ การพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัฒน์
จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ในการเตรียมการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจและสังคมไทยใหม่ให้เข้มแข็งพร้อมรับสถานการณ์ในอนาคต
จึงจะสามารถช่วงชิงโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงในประชาคมโลกมาใช้เป็นแรงผลักดันในการพัฒนาประเทศไทยให้สอดคล้องกับพื้นฐานของวัฒนธรรมไทยและตรงกับความต้องการของคนไทย
ทั้งนี้เพื่อให้ประเทศไทยสามารถก้าวไปสู่ความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2020 (พ.ศ. 2563) โดยเศรษฐกิจไทยจะมีขนาดเป็นลำดับ 8 ของโลก
คนไทยมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวไม่ต่ำกว่า 300,000 บาทต่อปี หรือ ประมาณ 12,000เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งวัด ณ ระดับราคาปี 2536
สัดส่วนคนยากจนจะลดลงต่ำกว่าร้อยละ 5 ควบคู่กันไปกับการมีคุณภาพชีวิตดีของประชาชนส่วนใหญ่ ดังรายละเอียดซึ่งทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันกำหนดขึ้นเป็นวิสัยทัศน์สังคมไทยพึงประสงค์ในอีก 25 ปีข้างหน้า คือ
1) ในปี2020 สังคมไทยจะเป็นสังคมซึ่งมีความเป็นปึกแผ่น มีความภูมิใจในความเป็นไทยและดำรงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ มีความมั่นคง สงบสุข สันติกับนานาชาติ
ประเทศไทยได้รับการยกย่องเป็นประเทศระดับแนวหน้าในประชาคมโลก เป็นสังคมที่คนมีความสุข อยู่ในครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง
สังคมมีสมรรถภาพ มีเสถียรภาพ มีความเสมอภาค มีความยุติธรรม มีระเบียบวินัย มีความเมตตากรุณา เคารพในสิทธิมนุษยชน มีหลักธรรมของศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวในการดำรงชีวิตของคนไทย
2) ประชาชนทุกคนมีโอกาสพัฒนาศักยภาพของตนเองมากขึ้น ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และมีส่วนร่วมอย่างเต็มภาคภูมิในกระบวนการพัฒนาประเทศ
เด็กไทยทุกคนจะได้รับการดูแลเอาใจใส่ด้านสุขภาพตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา ได้รับสารอาหารครบถ้วนตั้งแต่ปฐมวัย รวมทั้งได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 12 ปี และทุกคนมีโอกาสเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมที่มีคุณภาพ
3) คนไทยมีขีดความสามารถพร้อมที่จะปรับตัวเพื่อรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับที่สามารถแข่งขันกับนานาชาติได้ คนไทยวัยหนุ่มสาวได้รับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของคนในกลุ่มอายุ 18 - 24 ปี
กลุ่มคนผู้ขาดโอกาสในสังคมได้รับบริการทางการศึกษาและการมีงานทำอย่างทั่วถึงถ้วนหน้า
คนไทยจะมีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถ รู้จักตัวเอง รู้เท่าทันโลก และมีศักยภาพที่จะปรับตัวเองอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่าตลอดทุกช่วงวัยของชีวิต
มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ โดยมีความสมดุลกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเป็นฐานการจ้างงานและสร้างโอกาสในการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรมทั่วหน้าทุกกลุ่มประชาชนทุกพื้นที่
4) ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในภูมิภาคและชนบทไม่แตกต่างจากคนในเมืองหลวง คือได้รับบริการโครงสร้างพื้นฐานและบริการพื้นฐานทางสังคมซึ่งจำเป็นอย่างมีคุณภาพและทั่วถึง สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างสะดวกด้วยเครือข่ายระบบโทรคมนาคมและขนส่งซึ่งครอบคลุมทุกพื้นที่ อย่างเท่าเทียมทั่วถึง ทั่วประเทศไทย
มีโอกาสและทางเลือกในการประกอบอาชีพได้อย่างเสรี และใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการดูแลรักษา บริหารจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพของคนในปี2538
เพื่อเป็นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืนแก่คนรุ่นหลัง(2563/2020) คนไทยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น มีเมืองและชุมชนน่าอยู่อาศัย มีความปลอด ภัย และเป็นความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ
7) มีระบบการเมืองที่เป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ โดยมีองค์พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีภาคราชการที่มีประสิทธิภาพ มีนักการเมืองและข้าราชการที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถสูง ยึดผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติเป็นหลักเป็นที่พึ่งและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง
ผลของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
1) รัฐบาลนายกรัฐมนตรี บรรหาร 2538 - 2539
เนื่องจากการแก้ไขแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 เพื่อสนับสนุนการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 และ การจัดทำ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 โดยเพิ่ม วัตถุประสงค์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แทน การพัฒนาเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียวในห้วงเวลาที่ผ่านมา มีปัญหาในระดับปฏิบัติการ
จึงจำเป็นต้อง จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 ด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ เพื่อเป็นเครื่องมือในการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 และ จัดทำ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3782 หน้า 157
https://dl.parliament.go.th/handle/20.500.13072/367183
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 นับเป็นจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนพลังทางสังคมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างใหญ่ และนำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย 2540
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/055/1.PDF
2) รัฐบาลต้มยำกุ้ง 2539 - 2540 / 1996 - 1997
มติคณะรัฐมนตรี 23 กรกฎาคม 2539 มีมติให้เริ่มใช้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 ตั้งแต่ 1 คุลาคม 2539
ส่งผลให้สามารถอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ได้สำเร็จใน 6 เดือน และ จัดทำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 ได้ใน 11 เดือน
เด็กไทยทุกคนได้เรียนในสถานศึกษาใกล้บ้าน รวมถึงเด็กพิการ สำเร็จใน 6 เดือน
https://drive.google.com/file/d/1l9b-mUDDOvsfkyj2DUSzOwBrGM84Lhxt/view
การอภิวัฒน์การศึกษาให้คนไทยอายุ 3-17 ปี จากครอบครัวเกษตรกรยากจน 4.35 ล้านคน จาก ทุกที่ ทั่วไทย ทั่วถึง ได้เรียนอย่างเท่าเทียม เป็นครั้งแรก เมื่อ 8 พฤษภาคม 2540
ในประวัติศาสตร์การจัดบริการการศึกษาไทย เนื่องจากนำเด็กด้อยโอกาสจากครอบครัวเกษตรกรยากจนในชนบท 4.35ล้านคนมารับบริการการศึกษา พร้อมอาหารครบหมู่อย่างน้อยและ อุปกรณ์ครบครัน เพื่อแก้ไขปัญหา เด็กไทยขาดอาหารตายปีละ หลายหมื่นยูเนสโก ( UNESCO) บันทึกการอภิวัฒน์การศึกษาไทย ปี2538 และความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรมแล้ว
เอกสารอ้างอิง https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000113535 ลิ้งค์บันทึกการอภิวัฒน์การศึกษา
ยูเนสโก มอบรับรางวัลการจัดบริการการศึกษาเป็นเลิศให้ประเทศไทย ปี2540
เอกสารอ้างอิง
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000114483
รางวัลการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการบริหารการศึกษา และ บริการการศึกษาให้ประเทศไทย 2541
เอกสารอ้างอิง
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000141834
รางวัลการบริหารการศึกษาเพื่อให้เด็กจากครอบครัวยากจนได้เรียน เมื่อปี 2539
เอกสารอ้างอิง
https://web.archive.org/web/20220904100222/https://www.seameo.org/vl/library/dlwelcome/photogallery/president/sukavich.htm
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/055/1.PDF
ได้รับความร่วมมือกับ รัฐบาลญี่ปุ่น สนามบินสุวรรณภูมิ 2539 - 2543 ยืดเยื้อ 6 ปี และ โครงการ กก - อิง - น่าน 2542 ในที่สุดไม่สำเร็จ
https://www.jsce.or.jp/e/archive/project/pj17.html
โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ เดิม ชื่อ โครงการเศรษฐกิจชุมชน อุตสาหกรรม ชุมชน เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8
เอกสารอ้างอิง
https://dl.parliament.go.th/handle/20.500.13072/367183
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 ถูกจัดทำขึ้นด้วย กระบวนทัศน์ใหม่ เพื่อเป็นเครื่องมือ ในการปฏิรูปการศึกษาอย่างบูรณาการ หรือ ปฏิรูปประเทศไทย ให้เป็น ประเทศพัฒนาแล้วใน 25 ปี 1995 - 2020
โดยการแก้ไขปัญหาของประเทศไทย ถึง โครงสร้าง ด้วย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
ในที่สุดกระบวนการนี้ ดำเนินการไปได้ 11 ปี 4 รัฐบาล
สำหรับ ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชุมชน และ อุตสาหกรรมชุมชน
โครงการ สินค้าเศรษฐกิจชุมชน และ วิสาหกิจชุมชน เพื่อส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการพัฒนาท้องถิ่น สร้างชุมชนเข้มแข็งพึ่งตนเองได้ ให้ประชาชน มีส่วนร่วม ในการสร้างงาน สร้างรายได้ ด้วยการนำทรัพยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์และบริการ มีคุณภาพ มีมูลค่าเพิ่ม สอดคล้องกับวัฒนธรรมหรือ วิถีชีวิตของท้องถิ่น เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวในประเทศ และ ส่งออกภูมิปัญญาไทย ในฐานะทูตทางวัฒนธรรม เช่นเดียวกับ อาหารไทย เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
1) รัฐบาลนายกรัฐมนตรีบรรหาร
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 เป็นแผนปฏิรูปความคิดและคุณค่าใหม่ของสังคมไทย ที่เน้นให้ “คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา” และใช้เศรษฐกิจเป็นเพียงเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนามาเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม มีกระบวนการที่จะเชื่อมโยง มิติต่างๆ ของการพัฒนา ตลอดจนเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายร่วมกันจัดทำแผน เพื่อให้ผู้จัดทำแผนและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่เป็นบุคคลกลุ่มเดียวกัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3783
2) รัฐบาลต้มยำกุ้ง
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 นับเป็นจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนพลังทางสังคมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างใหญ่ และนำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย 2540
[img]https://f.ptcdn.info/471/085/000/m10j36r1i3KoQTM0C