พ่อปกครองลูก คือ การเมืองการปกครอง รูปแบบนึง
เหมาะกับสังคมที่มีขนาดเล็กที่มีความซับซ้อนน้อย เช่น ในจารึกสมัยสุโขทัย
โดยนัยยะ
หมายถึง การปกครองที่มีเมตตาเหมือนความรักของพ่อแม่ที่หวังดีต่อลูก
แต่เมื่อสถานการณ์ของโลกเปลี่ยนแปลงไป ความซับซ้อนของหลายปัจจัยทวีมากขึ้นๆ
การปกครองดังกล่าวจึงไม่เหมาะสมกับสถานการณ์
เหลือเพียง การยกข้อดีจากแนวคิดการหวังดีต่อชาติบ้านเมือง ที่เหนือกว่าผลประโยชน์ของตนและครอบครัว มาใช้บริหาร
การกระทำในเรื่องนึง ย่อมส่งผลต่อ เรื่องถัดไปและ เรื่องนั้นๆ จะส่งผลต่อๆไป 1 2 3 4 5 ไม่รู้จบ
ไม่ว่าจะปกครองรูปแบบใด
หัวหน้าองค์กร ต้องมีเพียง 1 เดียวเพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ
ทุกนโยบาย ทุกการแก้ปัญหา ทุกวิสัยทัศน์ ต้องออกมาจากปากของ ผู้นำ เท่านั้น
ทีมงานที่ปรึกษานั้นมีได้ เป็นเรื่องสมควรเหมาะสมเพราะ ผู้นำ / นาย ก ทำทุกเรื่องด้วยตนเองไม่ได้
แต่ที่ ปรึกษา ไม่ควรพูดแทน นาย ก หรือ ผู้นำ อย่างเด็ดขาด เพราะทำให้เกิดความคลุมเคลือ ว่า
" ใครคือผู้นำ ใครคือ นาย ก ตัวจริง "
ขอขอบคุณภาพจาก
https://x.com/rachit1m
การปกครองแบบ " พ่อปกครองลูก " ไม่ควรนำมาใช้กับการบริหารราชการแผ่นดิน ใช่หรือไม่ ?
พ่อปกครองลูก คือ การเมืองการปกครอง รูปแบบนึง
เหมาะกับสังคมที่มีขนาดเล็กที่มีความซับซ้อนน้อย เช่น ในจารึกสมัยสุโขทัย
โดยนัยยะ
หมายถึง การปกครองที่มีเมตตาเหมือนความรักของพ่อแม่ที่หวังดีต่อลูก
แต่เมื่อสถานการณ์ของโลกเปลี่ยนแปลงไป ความซับซ้อนของหลายปัจจัยทวีมากขึ้นๆ
การปกครองดังกล่าวจึงไม่เหมาะสมกับสถานการณ์
เหลือเพียง การยกข้อดีจากแนวคิดการหวังดีต่อชาติบ้านเมือง ที่เหนือกว่าผลประโยชน์ของตนและครอบครัว มาใช้บริหาร
การกระทำในเรื่องนึง ย่อมส่งผลต่อ เรื่องถัดไปและ เรื่องนั้นๆ จะส่งผลต่อๆไป 1 2 3 4 5 ไม่รู้จบ
ไม่ว่าจะปกครองรูปแบบใด
หัวหน้าองค์กร ต้องมีเพียง 1 เดียวเพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ
ทุกนโยบาย ทุกการแก้ปัญหา ทุกวิสัยทัศน์ ต้องออกมาจากปากของ ผู้นำ เท่านั้น
ทีมงานที่ปรึกษานั้นมีได้ เป็นเรื่องสมควรเหมาะสมเพราะ ผู้นำ / นาย ก ทำทุกเรื่องด้วยตนเองไม่ได้
แต่ที่ ปรึกษา ไม่ควรพูดแทน นาย ก หรือ ผู้นำ อย่างเด็ดขาด เพราะทำให้เกิดความคลุมเคลือ ว่า
" ใครคือผู้นำ ใครคือ นาย ก ตัวจริง "
ขอขอบคุณภาพจาก
https://x.com/rachit1m