ตอนผมอ่านหรือดูซีรีย์ GOT และ HOTD ผมสังเกตว่า ตัวละครต่างๆในเรื่องนี้ของลุงมาร์ติน ไม่ได้เขียนเรื่องการแย่งชิงอำนาจอย่างเดียวแต่ยังแสดงให้เห็นการทำงานและการใช้อำนาจ ของราชาอีกด้วย
ซึ่งพอผมดูไปมาผมกลับคิดถึงหนังสือ the prince หรือเจ้าผู้ครองนครของ นิโคโล มาคิอาเวลลี ขึ้นมาทันที่
(นิโคโล มาคิอาเวลลี เป็นนักปรัชญา นักเขียน และนักรัฐศาสตร์ชาวฟลอเรนซ์ ในศตวรรษที่ 15 นับเป็นหนึ่งในบิดาแห่งรัฐศาสตร์ยุคใหม่ มีชีวิตอยู่ในยุคเรอเนซองส์ ซึ่งเขาเป็นนักวิชาการ นักปรัชญาการเมือง นักดนตรี กวี นักเขียนบทละคร)
ซึ่งหนังสือเจ้าผู้ครองนครนั้นเป็นการอธิบายถึงการปกครองและการใช้อำนาจอย่างไรในการทำให้บ้านเมืองสงบ และรักษาอำนาจของราชา
และเท่าที่ผมติดตามมาลุงมาร์ตินแก่ก็เคย บอกว่าอ่าน the prince หรือเจ้าผู้ครองนครของ ของ นิโคโล มาคิอาเวลลี มาก่อนด้วย
หรือจะพูดได้ว่า นิยาย game of thrones ได้รับอิทธิพลมาจาก
หนังสือ the prince (หนังสือ the prince จะเป็นการอธิบายหรือคู่มือสำหรับนักปกครอง แต่ลุงมาร์ตินนำระบบการทำงานของอำนาจมาอธิบายในรูปแบบนิยายโดยผ่านการกระทำของตัวละครและความแฟนตาซีจินตนาการ)
ยกตัวอย่างคิงจอฟฟรี่ตัดหัวเน็ดผลสุดท้ายทำให้เกิดสงคราม 5 ราชาจุดนี้แสดงให้เห็นว่าการใช้อำนาจโดยไม่ไตรตรองหรือวิเคราะห์ด้วยเหตุผลหรือไม่คำนึงถึงผลที่ตามจะนำหายะนะมาถึง อย่างใน 7 อาณาจักรที่จอฟขึ้นปกครองตอนนั้นมันไม่ได้แข็งแรงอะไรซ่ำกำลังอ่อนแอด้วย จอฟคือตัวอย่างของคนที่มีอำนาจแต่ไม่รู้จักวิธีใช้หรือเล่นเกมเป็น คิดว่าใช้ไปคงไม่เป็นไรผลสุดท้ายทำให้เกิดสงคราม
เน็ดคือตัวอย่างของผู้ปกครองที่ดีซื่อตรงแต่ไม่ทันเกมแห่งอำนาจและคนและยึดเกียรติจนเกินไปผลสุดท้ายหัวขาด
ออตโต้ ไฮทาว์เวอร์ (HOTD) มือขวาวิเซรีส เก่งกาจฉลาดเป็นนักปกครองแต่มีความไม่ซื้อตรงทำอะไรลับหลังและกระหายอำนาจ
ราชาวิเซรีส ที่ 1 กษัตริย์ที่เปรียมด้วยคุณธรรมมีความเด็ดขาดเสียอย่างเดียวไม่ทันคนทำให้ออตโต้และคนในสภาชักใยง่าย
ราชวงศ์ทาร์แกเลียน มีพลังอำนาจในการปกครอง 7 อาณาจักรเพราะมีมังกร แต่เพราะยึดหลักสายเลือดบริสุทธ์มากเกินไปผลสุดท้าย ทำให้ราชวงศ์นี้ไม่ได้แต่งงานนอกตระกูลทำให้ปิดโอกาศในการสร้างสายสัมพันธไมตรีใหญ่ๆกับลอร์ดในดินแดนต่างๆ แต่มันก็มีข้อแลกเปลี่ยน ถ้ายึดหลักเลือดบริสุทธิ์ ก็สามารถคุมมังกรได้ แต่ก็จะมีความเหินห่างกับตระกูลต่างๆ แต้ถ้าเลือกแต่งงานกับลอร์ดในตระกูลต่างๆก็ทำให้สร้างเครือข่ายพันธมิตรกับบ้านตระกูลต่างๆ อำนาจจะแข็งแกล่งขึ้นแต่แลกมากับคุมมังกรไม่ได้ (แต่ก็มีบ้างที่คนคุมได้)
บลอนน์คือภาพตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่านักดาบหรือทหารรับจ้างพร้อมเปลี่ยนข้างเสมอเมื่อมีคนเสนอทองให้เยอะๆ เพราะคนพวกนี้ทำเพื่อเงิน
ไทวิน แลนนิสเตอร์คือภาพของนักปกครองที่ปกครองคนด้วยความโหดเหี้ยมและกำปั้นเหล็ก ซึ่งการกระทำของเขาทำให้ผู้คนยำเกรง ไม่กล้าฮือ บ้านเมืองสงบและพัฒนา แต่ก็ทำให้ผู้คนและพันธมิตรรังเกียจเพราะความไร้เมตตา
มาเจอรี่ ไทเลน แสดงให้การใช้พระคุณหรือความเมตตาผลสุดท้ายทำให้ได้ฐานเสียงมวลชนและขุนนาง
จะพูดง่ายๆก็
ร็อบบ สตารค์คือ ภาพของราชาหนุ่มผู้มากความสามารถเปรียบดังคลื่นลูกใหม่ ดังหมาป่าหนุ่มผู้แข็งแกล่ง แต่ผิดพลาดที่ปล่อยให้ความรักบังตา ผลสุดท้ายทำให้ขัดแย้งกับตระกูลเฟรย์ และยังเป็นภาพของผู้ปกครองหนุ่มที่ไม่ทันเล่ห์กลทางการเมือง โดยไม่รู้ว่าตระกูลเฟลย์ได้เปลี่ยนข้างไปอยู่ฝ่ายแลนนิสเตอร์แล้ว
ฯลฯ
คือ game of thrones และ house of the dragon คือการนำ the prince มาอธิบายผ่านการกระทำของตัวละคร และแสดงให้เห็นว่าระบบอำนาจทำงานอย่างไร
คิดว่า game of thrones คือการนำแนวคิด หนังสือ the prince ของ นิโคโล มาคิอาเวลลี แบบมาอธิบายในรูปแบบนิยายหรือไม่
ซึ่งพอผมดูไปมาผมกลับคิดถึงหนังสือ the prince หรือเจ้าผู้ครองนครของ นิโคโล มาคิอาเวลลี ขึ้นมาทันที่
(นิโคโล มาคิอาเวลลี เป็นนักปรัชญา นักเขียน และนักรัฐศาสตร์ชาวฟลอเรนซ์ ในศตวรรษที่ 15 นับเป็นหนึ่งในบิดาแห่งรัฐศาสตร์ยุคใหม่ มีชีวิตอยู่ในยุคเรอเนซองส์ ซึ่งเขาเป็นนักวิชาการ นักปรัชญาการเมือง นักดนตรี กวี นักเขียนบทละคร)
ซึ่งหนังสือเจ้าผู้ครองนครนั้นเป็นการอธิบายถึงการปกครองและการใช้อำนาจอย่างไรในการทำให้บ้านเมืองสงบ และรักษาอำนาจของราชา
และเท่าที่ผมติดตามมาลุงมาร์ตินแก่ก็เคย บอกว่าอ่าน the prince หรือเจ้าผู้ครองนครของ ของ นิโคโล มาคิอาเวลลี มาก่อนด้วย
หรือจะพูดได้ว่า นิยาย game of thrones ได้รับอิทธิพลมาจาก
หนังสือ the prince (หนังสือ the prince จะเป็นการอธิบายหรือคู่มือสำหรับนักปกครอง แต่ลุงมาร์ตินนำระบบการทำงานของอำนาจมาอธิบายในรูปแบบนิยายโดยผ่านการกระทำของตัวละครและความแฟนตาซีจินตนาการ)
ยกตัวอย่างคิงจอฟฟรี่ตัดหัวเน็ดผลสุดท้ายทำให้เกิดสงคราม 5 ราชาจุดนี้แสดงให้เห็นว่าการใช้อำนาจโดยไม่ไตรตรองหรือวิเคราะห์ด้วยเหตุผลหรือไม่คำนึงถึงผลที่ตามจะนำหายะนะมาถึง อย่างใน 7 อาณาจักรที่จอฟขึ้นปกครองตอนนั้นมันไม่ได้แข็งแรงอะไรซ่ำกำลังอ่อนแอด้วย จอฟคือตัวอย่างของคนที่มีอำนาจแต่ไม่รู้จักวิธีใช้หรือเล่นเกมเป็น คิดว่าใช้ไปคงไม่เป็นไรผลสุดท้ายทำให้เกิดสงคราม
เน็ดคือตัวอย่างของผู้ปกครองที่ดีซื่อตรงแต่ไม่ทันเกมแห่งอำนาจและคนและยึดเกียรติจนเกินไปผลสุดท้ายหัวขาด
ออตโต้ ไฮทาว์เวอร์ (HOTD) มือขวาวิเซรีส เก่งกาจฉลาดเป็นนักปกครองแต่มีความไม่ซื้อตรงทำอะไรลับหลังและกระหายอำนาจ
ราชาวิเซรีส ที่ 1 กษัตริย์ที่เปรียมด้วยคุณธรรมมีความเด็ดขาดเสียอย่างเดียวไม่ทันคนทำให้ออตโต้และคนในสภาชักใยง่าย
ราชวงศ์ทาร์แกเลียน มีพลังอำนาจในการปกครอง 7 อาณาจักรเพราะมีมังกร แต่เพราะยึดหลักสายเลือดบริสุทธ์มากเกินไปผลสุดท้าย ทำให้ราชวงศ์นี้ไม่ได้แต่งงานนอกตระกูลทำให้ปิดโอกาศในการสร้างสายสัมพันธไมตรีใหญ่ๆกับลอร์ดในดินแดนต่างๆ แต่มันก็มีข้อแลกเปลี่ยน ถ้ายึดหลักเลือดบริสุทธิ์ ก็สามารถคุมมังกรได้ แต่ก็จะมีความเหินห่างกับตระกูลต่างๆ แต้ถ้าเลือกแต่งงานกับลอร์ดในตระกูลต่างๆก็ทำให้สร้างเครือข่ายพันธมิตรกับบ้านตระกูลต่างๆ อำนาจจะแข็งแกล่งขึ้นแต่แลกมากับคุมมังกรไม่ได้ (แต่ก็มีบ้างที่คนคุมได้)
บลอนน์คือภาพตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่านักดาบหรือทหารรับจ้างพร้อมเปลี่ยนข้างเสมอเมื่อมีคนเสนอทองให้เยอะๆ เพราะคนพวกนี้ทำเพื่อเงิน
ไทวิน แลนนิสเตอร์คือภาพของนักปกครองที่ปกครองคนด้วยความโหดเหี้ยมและกำปั้นเหล็ก ซึ่งการกระทำของเขาทำให้ผู้คนยำเกรง ไม่กล้าฮือ บ้านเมืองสงบและพัฒนา แต่ก็ทำให้ผู้คนและพันธมิตรรังเกียจเพราะความไร้เมตตา
มาเจอรี่ ไทเลน แสดงให้การใช้พระคุณหรือความเมตตาผลสุดท้ายทำให้ได้ฐานเสียงมวลชนและขุนนาง
จะพูดง่ายๆก็
ร็อบบ สตารค์คือ ภาพของราชาหนุ่มผู้มากความสามารถเปรียบดังคลื่นลูกใหม่ ดังหมาป่าหนุ่มผู้แข็งแกล่ง แต่ผิดพลาดที่ปล่อยให้ความรักบังตา ผลสุดท้ายทำให้ขัดแย้งกับตระกูลเฟรย์ และยังเป็นภาพของผู้ปกครองหนุ่มที่ไม่ทันเล่ห์กลทางการเมือง โดยไม่รู้ว่าตระกูลเฟลย์ได้เปลี่ยนข้างไปอยู่ฝ่ายแลนนิสเตอร์แล้ว
ฯลฯ
คือ game of thrones และ house of the dragon คือการนำ the prince มาอธิบายผ่านการกระทำของตัวละคร และแสดงให้เห็นว่าระบบอำนาจทำงานอย่างไร