Weather Photographer of The Year (WPOTY)
คืองานประกวดภาพถ่ายระดับโลก ที่จัดขึ้นโดย Standard Chartered
โดยที่ผู้ชนะจะมี 8 ภาพ จากการคัดเลือก 2 ช่วง
ช่วง 1 กรรมการพิจารณา ได้
- 3 ภาพผู้ชนะแห่งปี (Year)
- 2 ภาพผู้ชนะภายใต้เงื่อนไข ใช้โทรศัพท์ถ่าย (Smartphone)
- 2 ภาพผู้ชนะภายใต้เงื่อนไข ผู้ถ่ายเป็นเยาวชน (Young)
นอกจากนี้ในช่วง 1 กรรมการยังสรรหาภาพที่สะดุดตามากๆ แต่ดีไม่เท่า 7 ภาพแรก
เพื่อเข้าสู่ช่วง 2 ให้ผู้คนร่วมโหวตหาผู้ชนะ 1 ภาพจากช่วงนี้
รวมเป็นทั้งหมด 8 ภาพ นั่นเอง
YEAR
TOP 1
ชื่อภาพ : A Perfect Cloud
เจ้าของผลงาน : Francisco Negroni
Photo Location : Pucón, Chile
Camera : Nikon D610, 105mm 2.8
เมฆรูปทรงเลนส์ (Lenticular cloud) รอบปล่องภูเขาไฟวิลลารีกา (Villarrica)
เมฆประเภทนี้ เกิดจากมวลอากาศเจอสิ่งกีดขวาง เช่นภูเขาไฟ อากาศจึงลอยขึ้นสูงและเย็นตัวลง ทำให้เกิดไอน้ำควบแน่นในลักษณะเป็นวง
TOP 2
ชื่อภาพ : Forest Fire Boundary
เจ้าของผลงาน : Tran Tuan
Photo Location : Bac Giang, Vietnam
Camera : DJI Mavic Pro
ไฟป่าในเวียดนาม ที่ถูกถ่ายด้วยโดรน
TOP 3
ชื่อภาพ : Fichtelberg Mountain
เจ้าของผลงาน : Christoph Schaarschmidt
Photo Location : Saxony, Germany
Camera : Canon EOS 6D II and the Sigma 14-24mm f2.8
ภูเขาฟิชทุลแบร์ก (Fichtelberg)
สภาพหิมะอันมหึมาเช่นนี้ เกิดขึ้นได้ด้วยหลายๆ ปัจจัย ที่ประกอบเข้าด้วยกัน
นั่นคือ ลมแรงจัด หิมะที่ตกลงมาในปริมาณมาก และ อุณหภูมิที่ติดลบอย่างสุดขั้ว
เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นด้วยการผสมผสานของ หิมะ และ Rime (ละอองน้ำที่เย็นยะเยือกจัดในหมอกจนกลายเป็นเกล็ดน้ำแข็งล่องลอย)
SMARTPHONE
TOP 1
ชื่อภาพ : Braving the Storm
เจ้าของผลงาน : Les Irwig
Photo Location : Sydney, Australia
Camera : Samsung S23
TOP 2
ชื่อภาพ : Snowflake Fall
เจ้าของผลงาน : Diana Neves
Photo Location : Staffordshire, UK
Camera : Samsung Galaxy S10
YOUNG
TOP 1
ชื่อภาพ : Overhead Mammatus over Beach Huts at Herne Bay
เจ้าของผลงาน : Jamie McBean, 17
Photo Location : Herne Bay, Kent, UK
เมฆแมมมาตัส (Mammatus) คือ 1 ในเมฆประเภทที่ไม่สามารถพบเจอได้ทั่วไป และมีลักษณะเฉพาะอันเด่นชัด
โดยปกติแล้วมันจะเชื่อมกับ คิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) เมฆขนาดใหญ่ ต้นกำเนิดแห่งพายุ ผู้สร้างอากาศอบอุ่นและชื้นในบรรยากาศชั้นล่าง
ส่วนที่นูน เกิดขึ้นบนฐานของคิวมูโลนิมบัส อันเนื่องมาจาก อากาศปั่นป่วน (Turbulence) ที่เกิดขึ้นภายในเมฆพายุนั้นเอง
ชื่อ แมมมาตัส มาจากรูปทรงอันสุดพิลึกพิลั่น จากภาษาลาติน
Mamma แปลว่าเต้านม (Breast)
TOP 2
ชื่อภาพ : Reflections over the Pacific Ocean
เจ้าของผลงาน : Siyana Lapinsky, 14
Photo Location : Malibu, California, USA
PUBLIC VOTE
ชื่อภาพ : Divine Power
เจ้าของผลงาน : Fernando Braga
Photo Location : Rio de Janeiro, Brazil
Camera : NIKON D750 with AF-S Nikkor 70-300mm f/4.5-5.6G IF-ED VR at 300mm f/16 30' ISO 100
สำหรับการประกวดปี 2023 นั้น
มี Shortlist ที่เลือกมาเพื่อ Public Vote ทั้งหมด 20 ภาพด้วยกัน
มาดูอีก 19 ภาพกัน
1/19
ชื่อภาพ : A Noctilucent Paisley Pattern
เจ้าของผลงาน : Gary Chittick
Photo Location : Paisley, Scotland, UK
Camera : OPPO Find X5 Pro
เป็นภาพของ Noctilucent หรือ เมฆที่สว่างไสวในตอนกลางคืน
เมฆเหล่านี้เกิดขึ้น ณ ที่สูงกว่าเมฆแห่งสภาพอากาศที่เราคุ้นชินมากนัก
Noctilucent บางกลุ่ม เกิดขึ้นสูงกว่าระดับน้ำทะเล 80 กิโลเมตร ณ ชั้นบรรยากาศมีโซสเฟียร์ (Mesophere) เลยทีเดียว
2/19
ชื่อภาพ : Chugwater Tornado
เจ้าของผลงาน : Cristiano Xavier
Photo Location : Wyoming, USA
Camera : Canon 5DMK3, 16-35mm f:4 IS lens, Gytzo tripod
ทอร์นาโด ก่อตัวขึ้นจากพายุขนาดใหญ่ หรือที่เรียกว่า ซูเปอร์เซลส์ (Supercells)
ความเร็วลมผันผวน ทำให้เกิดกระแสลมหมุนในอากาศ และดึงให้ก่อร่าง พายุหมุนแนวตั้ง (Vertical vortex)
เมื่อไหร่ก็ตามที่มันแตะพื้นได้สำเร็จ นั่นก็คือ ทอร์นาโด
3/19
ชื่อภาพ : Cloud Sea Over Mountain
เจ้าของผลงาน : Kyaw Kyaw Winn
Photo Location : Kayin, Myanmar
Camera : Vivo X70 Pro Plus
ทะเลหมอก (Cloud sea) เกิดขึ้นเมื่อ อากาศที่มีความชื้นสูงถูกบังคับให้ลอยขึ้น ด้วยลักษณะโครงสร้างทางภูมิศาสตร์ (Topography)
และเจออากาศเย็นภูเขา จึงเกิดการควบแน่นเป็นเมฆขึ้น
4/19
ชื่อภาพ : Country Supercell
เจ้าของผลงาน : Sara Bruce
Photo Location : Border between Mexico and USA
Camera : Samsung Galaxy S22 Ultra - 2.20 mm 1/1400 sec f/2.2 ISO 50
5/19
ชื่อภาพ : Dream Ring
เจ้าของผลงาน : Naser Mohammadmoradi
Photo Location : Sanandaj, Iran
Camera : Fujifilm HS50
Wispy halo-shaped เป็นรูปแบบของ Noctilucent ที่พบเจอได้ยากมากชนิดหนึ่ง
Noctilucent มีองค์ประกอบหลักคือ คริสตัลน้ำแข็ง ในขณะที่งานวิจัยบางแหล่งก็บอกว่ามันคือ เศษฝุ่นดาวหางที่เข้าสู่ชั้นบรรยากาศ
และเนื่องจาก Noctilucent เป็นเมฆที่เบาบางและจางมาก ทำให้โดยที่ทั่วไปแล้วมันจะถูกมองเห็นได้ในช่วง คืนฤดูร้อนที่ท้องฟ้าสดใส
และเป็นช่วงสั้นๆหลังดวงอาทิตย์ตกดิน ที่ซึ่งบรรบากาศชั้นล่างและพื้นดินถูกปกคลุมด้วยความมืดมิดไปแล้ว
แต่แสงยังสาดส่องไปสู่บรรยากาศชั้นสูงได้อยู่
6/19
ชื่อภาพ : Ethel Alice
เจ้าของผลงาน : Shaun Mills
Photo Location : Mersea Island, UK
Camera : Canon R5 & RF 16mm lens
สายรุ้ง เกิดขึ้นได้โดยละอองน้ำในอากาศหักเหแสง และกระจายความถี่คลื่นแสงต่างๆ ด้วยมุมที่ต่างกันไป
รุ้งชั้นที่ 2 เกิดจากการหักเห 2 รอบในละอองน้ำเดียวกัน จึงเสียพลังงานไปมาก และไม่แปลกที่โดยมากจะจืดจางลงไป
7/19
ชื่อภาพ : Fire on Man-Made Jungle
เจ้าของผลงาน : Mahmudul Hasan
Photo Location : Dhaka, Bangladesh
Camera : iPhone 14 pro max
บังกลาเทศ เป็น 1 ในประเทศที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโลกร้อนอย่างรุนแรงที่สุด
ด้วยสภาพภูมิประเทศทุ่งหญ้าแห้ง อุณหภูมิที่สูงมากหน่อยก็จุดไฟป่าให้ติดได้เองอย่างง่ายดาย
8/19
ชื่อภาพ : Flight in the Storm
เจ้าของผลงาน : Daniela Solera Meneses
Photo Location : San José, Costa Rica
Camera : Fuji XT1 / 18-55mm lens
9/19
ชื่อภาพ : Frozen Silence
เจ้าของผลงาน : Alan Percy
Photo Location : Colney, Norfolk, England, UK
Camera : iPhone 13
แม่คะนิ้ง (Hoar frost) เกิดจากละอองไอน้ำในอากาศ ปะทะกับของแข็ง ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส
ซึ่งทำให้ไอน้ำเยือกแข็งติดวัตถุทันที โดยไม่ผ่านการควบแน่นเป็นของเหลว
และเนื่องด้วยการเยือกแข็งฉับพลัน มันขังอากาศไว้ภายใน จึงทำให้มีสีขุ่นมัว
10/19
ชื่อภาพ : Lenticular Sundown Reflections
เจ้าของผลงาน : Kathleen Macleod
Photo Location : Inverness, Scotland, UK
Camera : iPhone
11/19
ชื่อภาพ : Nacreous Cloud (and contrail)
เจ้าของผลงาน : Colin Heggie
Photo Location : Whitehills, Scotland, UK
Camera : Leica SL, lens: Sigma 150-600mm, setting: 491 mm, f/6.3, 1/200
เมฆมุก หรือ เมฆโพลาร์สตราโทสเฟียร์ (Nacreous cloud or Polar stratosphere cloud) เป็นปรากฎการณ์ที่พบได้ยากมาก
เกิดขึ้นบริเวณขั้วโลก ที่ความสูงประมาณ 10 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเล เมื่ออุณหภูมิในบรรยากาศชั้นสตราโทสเฟียร์ลดลงต่ำกว่า -78 องศาเซลเซียส และอากาศแห้งอย่างสุดขั้ว ทำให้แสงที่ตกกระทบเกิดการกระจายออก
12/19
ชื่อภาพ : Once Upon a December Evening
เจ้าของผลงาน : Caitlin Jones-Fullerton
Photo Location : Flintshire, North Wales, UK
Camera : iPhone 14 pro
13/19
ชื่อภาพ : Polar Stratospheric Cloud
เจ้าของผลงาน : Tania Engbo Dyck-Madsen
Photo Location : Øvre Svatsum, Espedalen, southern Norway
Camera : Nikon Z5 and 24-200mm/4-6.3 lens. Taken at 200mm
14/19
ชื่อภาพ : Red Sprite Lightning over the Ama Drime Snow Mountain
เจ้าของผลงาน : Zhengjie Wu
Photo Location : Tibet, China
Camera : Nikon D810+ Sigma 14mm F1.8
สไปรท์ (Sprite) เป็นคำย่อของ Stratospheric Perturbations Resulting from Intense Thunderstorm Electrification
เกิดจากการถ่ายเทประจุ จากเมฆฟ้าผ่าที่มีกระแสไฟฟ้ารุนแรงจัด โดยประจุจะถูกถ่ายเทขึ้นไปเป็นสิบๆกิโลเมตร ในชั้นบรรยากาศมีโซสเฟียร์ (Mesophere) และกระบวนการนี้ ใช้เวลาเพียงไม่กี่เสี้ยววินาทีเท่านั้น
15/19
ชื่อภาพ : Sharing a Broken Spectre
เจ้าของผลงาน : Matthew Price
Photo Location : Herick Hill, Powys, Mid Wales, UK
Camera : Mavic Classic 3
เงาบร็อคเคิน (Brocken spectre) เกิดจากการสร้างเงาลงบนหมอก ซึ่งทำให้เกิดเงาใหญ่ และ ดูไกลตา
16/19
ชื่อภาพ : Snow Covered Beach Huts
เจ้าของผลงาน : Owen Humphreys
Photo Location : Blyth, Northumberland, UK
Camera : Sony A9ii
17/19
ชื่อภาพ : The Rising Taj
เจ้าของผลงาน : Sunil Choudhary
Photo Location : Taj Mahal, Agra, India
Camera : Google Pixel 3aXL
เป็นภาพที่ถ่ายโดยใช้หลักการ การกระเจิงแบบเรย์ลี (Rayleigh scattering)
ใช้ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์ยังไม่โผล่พ้นขอบฟ้า ทำให้คลื่นแสงกลุ่มสีน้ำเงินถูกกระเจิงไปทางอื่น เหลือเพียง Hue โทนร้อน
18/19
ชื่อภาพ : Waterlogged
เจ้าของผลงาน : Sudipta Chatterjee
Photo Location : Kolkata, India
Camera : D7200 , Lens - Sigma - 17-50
19/19
ชื่อภาพ : Worst Flooding
เจ้าของผลงาน : Azim Khan Ronnie
Photo Location : Kishoreganj, Bangladesh
Camera : DJI Mavic 3
พาส่อง รูปสุดตระการตา จาก งานประกวดภาพถ่ายสภาพอากาศ (Weather Photographer of The Year) ประจำปี 2023
คืองานประกวดภาพถ่ายระดับโลก ที่จัดขึ้นโดย Standard Chartered
โดยที่ผู้ชนะจะมี 8 ภาพ จากการคัดเลือก 2 ช่วง
ช่วง 1 กรรมการพิจารณา ได้
- 3 ภาพผู้ชนะแห่งปี (Year)
- 2 ภาพผู้ชนะภายใต้เงื่อนไข ใช้โทรศัพท์ถ่าย (Smartphone)
- 2 ภาพผู้ชนะภายใต้เงื่อนไข ผู้ถ่ายเป็นเยาวชน (Young)
นอกจากนี้ในช่วง 1 กรรมการยังสรรหาภาพที่สะดุดตามากๆ แต่ดีไม่เท่า 7 ภาพแรก
เพื่อเข้าสู่ช่วง 2 ให้ผู้คนร่วมโหวตหาผู้ชนะ 1 ภาพจากช่วงนี้
รวมเป็นทั้งหมด 8 ภาพ นั่นเอง
YEAR
TOP 1
ชื่อภาพ : A Perfect Cloud
เจ้าของผลงาน : Francisco Negroni
Photo Location : Pucón, Chile
Camera : Nikon D610, 105mm 2.8
เมฆรูปทรงเลนส์ (Lenticular cloud) รอบปล่องภูเขาไฟวิลลารีกา (Villarrica)
เมฆประเภทนี้ เกิดจากมวลอากาศเจอสิ่งกีดขวาง เช่นภูเขาไฟ อากาศจึงลอยขึ้นสูงและเย็นตัวลง ทำให้เกิดไอน้ำควบแน่นในลักษณะเป็นวง
TOP 2
ชื่อภาพ : Forest Fire Boundary
เจ้าของผลงาน : Tran Tuan
Photo Location : Bac Giang, Vietnam
Camera : DJI Mavic Pro
ไฟป่าในเวียดนาม ที่ถูกถ่ายด้วยโดรน
TOP 3
ชื่อภาพ : Fichtelberg Mountain
เจ้าของผลงาน : Christoph Schaarschmidt
Photo Location : Saxony, Germany
Camera : Canon EOS 6D II and the Sigma 14-24mm f2.8
ภูเขาฟิชทุลแบร์ก (Fichtelberg)
สภาพหิมะอันมหึมาเช่นนี้ เกิดขึ้นได้ด้วยหลายๆ ปัจจัย ที่ประกอบเข้าด้วยกัน
นั่นคือ ลมแรงจัด หิมะที่ตกลงมาในปริมาณมาก และ อุณหภูมิที่ติดลบอย่างสุดขั้ว
เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นด้วยการผสมผสานของ หิมะ และ Rime (ละอองน้ำที่เย็นยะเยือกจัดในหมอกจนกลายเป็นเกล็ดน้ำแข็งล่องลอย)
SMARTPHONE
TOP 1
ชื่อภาพ : Braving the Storm
เจ้าของผลงาน : Les Irwig
Photo Location : Sydney, Australia
Camera : Samsung S23
TOP 2
ชื่อภาพ : Snowflake Fall
เจ้าของผลงาน : Diana Neves
Photo Location : Staffordshire, UK
Camera : Samsung Galaxy S10
YOUNG
TOP 1
ชื่อภาพ : Overhead Mammatus over Beach Huts at Herne Bay
เจ้าของผลงาน : Jamie McBean, 17
Photo Location : Herne Bay, Kent, UK
เมฆแมมมาตัส (Mammatus) คือ 1 ในเมฆประเภทที่ไม่สามารถพบเจอได้ทั่วไป และมีลักษณะเฉพาะอันเด่นชัด
โดยปกติแล้วมันจะเชื่อมกับ คิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) เมฆขนาดใหญ่ ต้นกำเนิดแห่งพายุ ผู้สร้างอากาศอบอุ่นและชื้นในบรรยากาศชั้นล่าง
ส่วนที่นูน เกิดขึ้นบนฐานของคิวมูโลนิมบัส อันเนื่องมาจาก อากาศปั่นป่วน (Turbulence) ที่เกิดขึ้นภายในเมฆพายุนั้นเอง
ชื่อ แมมมาตัส มาจากรูปทรงอันสุดพิลึกพิลั่น จากภาษาลาติน Mamma แปลว่าเต้านม (Breast)
TOP 2
ชื่อภาพ : Reflections over the Pacific Ocean
เจ้าของผลงาน : Siyana Lapinsky, 14
Photo Location : Malibu, California, USA
PUBLIC VOTE
ชื่อภาพ : Divine Power
เจ้าของผลงาน : Fernando Braga
Photo Location : Rio de Janeiro, Brazil
Camera : NIKON D750 with AF-S Nikkor 70-300mm f/4.5-5.6G IF-ED VR at 300mm f/16 30' ISO 100
สำหรับการประกวดปี 2023 นั้น
มี Shortlist ที่เลือกมาเพื่อ Public Vote ทั้งหมด 20 ภาพด้วยกัน
มาดูอีก 19 ภาพกัน
1/19
ชื่อภาพ : A Noctilucent Paisley Pattern
เจ้าของผลงาน : Gary Chittick
Photo Location : Paisley, Scotland, UK
Camera : OPPO Find X5 Pro
เป็นภาพของ Noctilucent หรือ เมฆที่สว่างไสวในตอนกลางคืน
เมฆเหล่านี้เกิดขึ้น ณ ที่สูงกว่าเมฆแห่งสภาพอากาศที่เราคุ้นชินมากนัก
Noctilucent บางกลุ่ม เกิดขึ้นสูงกว่าระดับน้ำทะเล 80 กิโลเมตร ณ ชั้นบรรยากาศมีโซสเฟียร์ (Mesophere) เลยทีเดียว
2/19
ชื่อภาพ : Chugwater Tornado
เจ้าของผลงาน : Cristiano Xavier
Photo Location : Wyoming, USA
Camera : Canon 5DMK3, 16-35mm f:4 IS lens, Gytzo tripod
ทอร์นาโด ก่อตัวขึ้นจากพายุขนาดใหญ่ หรือที่เรียกว่า ซูเปอร์เซลส์ (Supercells)
ความเร็วลมผันผวน ทำให้เกิดกระแสลมหมุนในอากาศ และดึงให้ก่อร่าง พายุหมุนแนวตั้ง (Vertical vortex)
เมื่อไหร่ก็ตามที่มันแตะพื้นได้สำเร็จ นั่นก็คือ ทอร์นาโด
3/19
ชื่อภาพ : Cloud Sea Over Mountain
เจ้าของผลงาน : Kyaw Kyaw Winn
Photo Location : Kayin, Myanmar
Camera : Vivo X70 Pro Plus
ทะเลหมอก (Cloud sea) เกิดขึ้นเมื่อ อากาศที่มีความชื้นสูงถูกบังคับให้ลอยขึ้น ด้วยลักษณะโครงสร้างทางภูมิศาสตร์ (Topography)
และเจออากาศเย็นภูเขา จึงเกิดการควบแน่นเป็นเมฆขึ้น
4/19
ชื่อภาพ : Country Supercell
เจ้าของผลงาน : Sara Bruce
Photo Location : Border between Mexico and USA
Camera : Samsung Galaxy S22 Ultra - 2.20 mm 1/1400 sec f/2.2 ISO 50
5/19
ชื่อภาพ : Dream Ring
เจ้าของผลงาน : Naser Mohammadmoradi
Photo Location : Sanandaj, Iran
Camera : Fujifilm HS50
Wispy halo-shaped เป็นรูปแบบของ Noctilucent ที่พบเจอได้ยากมากชนิดหนึ่ง
Noctilucent มีองค์ประกอบหลักคือ คริสตัลน้ำแข็ง ในขณะที่งานวิจัยบางแหล่งก็บอกว่ามันคือ เศษฝุ่นดาวหางที่เข้าสู่ชั้นบรรยากาศ
และเนื่องจาก Noctilucent เป็นเมฆที่เบาบางและจางมาก ทำให้โดยที่ทั่วไปแล้วมันจะถูกมองเห็นได้ในช่วง คืนฤดูร้อนที่ท้องฟ้าสดใส
และเป็นช่วงสั้นๆหลังดวงอาทิตย์ตกดิน ที่ซึ่งบรรบากาศชั้นล่างและพื้นดินถูกปกคลุมด้วยความมืดมิดไปแล้ว
แต่แสงยังสาดส่องไปสู่บรรยากาศชั้นสูงได้อยู่
6/19
ชื่อภาพ : Ethel Alice
เจ้าของผลงาน : Shaun Mills
Photo Location : Mersea Island, UK
Camera : Canon R5 & RF 16mm lens
สายรุ้ง เกิดขึ้นได้โดยละอองน้ำในอากาศหักเหแสง และกระจายความถี่คลื่นแสงต่างๆ ด้วยมุมที่ต่างกันไป
รุ้งชั้นที่ 2 เกิดจากการหักเห 2 รอบในละอองน้ำเดียวกัน จึงเสียพลังงานไปมาก และไม่แปลกที่โดยมากจะจืดจางลงไป
7/19
ชื่อภาพ : Fire on Man-Made Jungle
เจ้าของผลงาน : Mahmudul Hasan
Photo Location : Dhaka, Bangladesh
Camera : iPhone 14 pro max
บังกลาเทศ เป็น 1 ในประเทศที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโลกร้อนอย่างรุนแรงที่สุด
ด้วยสภาพภูมิประเทศทุ่งหญ้าแห้ง อุณหภูมิที่สูงมากหน่อยก็จุดไฟป่าให้ติดได้เองอย่างง่ายดาย
8/19
ชื่อภาพ : Flight in the Storm
เจ้าของผลงาน : Daniela Solera Meneses
Photo Location : San José, Costa Rica
Camera : Fuji XT1 / 18-55mm lens
9/19
ชื่อภาพ : Frozen Silence
เจ้าของผลงาน : Alan Percy
Photo Location : Colney, Norfolk, England, UK
Camera : iPhone 13
แม่คะนิ้ง (Hoar frost) เกิดจากละอองไอน้ำในอากาศ ปะทะกับของแข็ง ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส
ซึ่งทำให้ไอน้ำเยือกแข็งติดวัตถุทันที โดยไม่ผ่านการควบแน่นเป็นของเหลว
และเนื่องด้วยการเยือกแข็งฉับพลัน มันขังอากาศไว้ภายใน จึงทำให้มีสีขุ่นมัว
10/19
ชื่อภาพ : Lenticular Sundown Reflections
เจ้าของผลงาน : Kathleen Macleod
Photo Location : Inverness, Scotland, UK
Camera : iPhone
11/19
ชื่อภาพ : Nacreous Cloud (and contrail)
เจ้าของผลงาน : Colin Heggie
Photo Location : Whitehills, Scotland, UK
Camera : Leica SL, lens: Sigma 150-600mm, setting: 491 mm, f/6.3, 1/200
เมฆมุก หรือ เมฆโพลาร์สตราโทสเฟียร์ (Nacreous cloud or Polar stratosphere cloud) เป็นปรากฎการณ์ที่พบได้ยากมาก
เกิดขึ้นบริเวณขั้วโลก ที่ความสูงประมาณ 10 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเล เมื่ออุณหภูมิในบรรยากาศชั้นสตราโทสเฟียร์ลดลงต่ำกว่า -78 องศาเซลเซียส และอากาศแห้งอย่างสุดขั้ว ทำให้แสงที่ตกกระทบเกิดการกระจายออก
12/19
ชื่อภาพ : Once Upon a December Evening
เจ้าของผลงาน : Caitlin Jones-Fullerton
Photo Location : Flintshire, North Wales, UK
Camera : iPhone 14 pro
13/19
ชื่อภาพ : Polar Stratospheric Cloud
เจ้าของผลงาน : Tania Engbo Dyck-Madsen
Photo Location : Øvre Svatsum, Espedalen, southern Norway
Camera : Nikon Z5 and 24-200mm/4-6.3 lens. Taken at 200mm
14/19
ชื่อภาพ : Red Sprite Lightning over the Ama Drime Snow Mountain
เจ้าของผลงาน : Zhengjie Wu
Photo Location : Tibet, China
Camera : Nikon D810+ Sigma 14mm F1.8
สไปรท์ (Sprite) เป็นคำย่อของ Stratospheric Perturbations Resulting from Intense Thunderstorm Electrification
เกิดจากการถ่ายเทประจุ จากเมฆฟ้าผ่าที่มีกระแสไฟฟ้ารุนแรงจัด โดยประจุจะถูกถ่ายเทขึ้นไปเป็นสิบๆกิโลเมตร ในชั้นบรรยากาศมีโซสเฟียร์ (Mesophere) และกระบวนการนี้ ใช้เวลาเพียงไม่กี่เสี้ยววินาทีเท่านั้น
15/19
ชื่อภาพ : Sharing a Broken Spectre
เจ้าของผลงาน : Matthew Price
Photo Location : Herick Hill, Powys, Mid Wales, UK
Camera : Mavic Classic 3
เงาบร็อคเคิน (Brocken spectre) เกิดจากการสร้างเงาลงบนหมอก ซึ่งทำให้เกิดเงาใหญ่ และ ดูไกลตา
16/19
ชื่อภาพ : Snow Covered Beach Huts
เจ้าของผลงาน : Owen Humphreys
Photo Location : Blyth, Northumberland, UK
Camera : Sony A9ii
17/19
ชื่อภาพ : The Rising Taj
เจ้าของผลงาน : Sunil Choudhary
Photo Location : Taj Mahal, Agra, India
Camera : Google Pixel 3aXL
เป็นภาพที่ถ่ายโดยใช้หลักการ การกระเจิงแบบเรย์ลี (Rayleigh scattering)
ใช้ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์ยังไม่โผล่พ้นขอบฟ้า ทำให้คลื่นแสงกลุ่มสีน้ำเงินถูกกระเจิงไปทางอื่น เหลือเพียง Hue โทนร้อน
18/19
ชื่อภาพ : Waterlogged
เจ้าของผลงาน : Sudipta Chatterjee
Photo Location : Kolkata, India
Camera : D7200 , Lens - Sigma - 17-50
19/19
ชื่อภาพ : Worst Flooding
เจ้าของผลงาน : Azim Khan Ronnie
Photo Location : Kishoreganj, Bangladesh
Camera : DJI Mavic 3