สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 8
1. ราคาหน้าโรงกลั่นในแต่ละช่วงไม่เท่ากันเพราะปีนี้โรงกลั่นต้องกลั่นน้ำมันมาตรฐานยูโร5 ขายซึ่งต้นทุนแพงขึ้นแน่ๆอยู่แล้ว
2. เงินเก็บเข้ากองทุนน้ำมันในแต่ละช่วงก็ไม่เท่ากัน
3. ภาษีสรรพสามิตน้ำมันในแต่ละช่วงก็เก็บไม่เท่ากัน
4. สำคัญที่สุดคือค่าเงินบาทในแต่ละช่วงอ่อนแข็งไม่เท่ากันเพราะน้ำมันซื้อขายด้วยสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐดังนั้นค่าเงินในแต่ละช่วงเวลามีผลกับราคาขายปลีกในประเทศเป็นอย่างมาก
ปล. สุดท้ายถ้าใจมืดบอดมีแต่อคติ ข้อมูลที่มีเต็มอินเตอร์เน็ตก็ช่วยอะไรไม่ได้เพราะฉันไม่ฟังฉันเชื่อของฉันแบบนี้
2. เงินเก็บเข้ากองทุนน้ำมันในแต่ละช่วงก็ไม่เท่ากัน
3. ภาษีสรรพสามิตน้ำมันในแต่ละช่วงก็เก็บไม่เท่ากัน
4. สำคัญที่สุดคือค่าเงินบาทในแต่ละช่วงอ่อนแข็งไม่เท่ากันเพราะน้ำมันซื้อขายด้วยสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐดังนั้นค่าเงินในแต่ละช่วงเวลามีผลกับราคาขายปลีกในประเทศเป็นอย่างมาก
ปล. สุดท้ายถ้าใจมืดบอดมีแต่อคติ ข้อมูลที่มีเต็มอินเตอร์เน็ตก็ช่วยอะไรไม่ได้เพราะฉันไม่ฟังฉันเชื่อของฉันแบบนี้
แสดงความคิดเห็น
เอาราคาน้ำมันเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปีมาให้ดู (หดหู่ใจ) หน่วยงานกำกับดูแลพลังงานเขาไม่ทำงานกันหรอ?
จะเห็นเลยว่า ราคาขายปลีกน้ำมันบ้านเรา พุ่งสูงขึ้น แม้ว่าราคาตลาดโลกจะลดลง
ปี 65 ราคาน้ำมันดิบ 86.82 ดอลล่าต่อบาเรล บ้านเราขาย Gas95 = 34.05 บาท
ปี 66 ราคาน้ำมันดิบ 79.68 ดอลล่าต่อบาเรล บ้านเราขาย Gas95 = 36.65 บาท
ปี 67 ราคาน้ำมันดิบ 78.88 ดอลล่าต่อบาเรล บ้านเราขาย Gas95 = 37.25 บาท
เอ้า ? งงไหม? ราคาน้ำมันดิบถูกลงเมื่อเทียบกับปีที่แล้ว แต่ราคาขายน้ำมันบ้านเราแพงขึ้นๆๆ
หน่วยงานกำกับดูแลราคาพลังงานเขาไม่ทำงานกันหรอ? ถึงปล่อยให้ตั้งราคาโดยไม่สนใจอะไรไปเรื่อยๆ