คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
อยากเล่า...เฉยๆ...ครู ควาย สุนัข จิ้งจก
ปี 2548 เคยฟังผู้พิพากษาท่านหนึ่ง เล่าให้ฟังขณะบรรยายเรื่องการพิจารณากำหนดโทษ กรณีนายจ้างกล่าวหาว่าลูกจ้างทำผิดระเบียบ/วินัย ข้อบังคับฯ ในการทำงาน
ต้องมีขั้นตอนอย่างน้อย 12 ขั้นตอน ตั้งแต่ตั้งเรื่อง เสนอผู้มีอำนาจ แต่งตั้งกรรมการสอบหา (ไม่ใช่สอบสวน-ไม่ใช่เจ้าพนักงานตามกฎหมาย) ข้อเท็จจริง ตั้งกรรมการ แจ้งข้อกล่าวหา สอบปากคำ สอบพยาน บันทึกเอกสาร คำให้การของผู้ถูกกล่าวหา พยาน ทุกอย่าง สรุป พิจารณา วินิจฉัย กำหนดบทลงโทษ การลดโทษ กรรมการสอบหา สรุป เสนอความเห็นต่อผู้มีอำนาจ ตัดสินใจ สั่งการต่อไป
ยากที่สุด เห็นจะเป็นขั้น “วินิจฉัย” ต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหา “สู้จนหมดข้อสงสัย” จึงค่อยประชุมวินิจฉัย สั่งตัดพยาน/หลักฐาน ตามอำเภอใจไม่ได้
แล้วท่านก็ยกตัวอย่างให้ช่วยกันคิดว่า จะตอบว่าอย่างไรดี
ครูสาวถามเด็กชั้นอนุบาล 3 (อายุ ?) ว่า
ระหว่าง ครู ควาย สุนัข จิ้งจก...อันไหน แตกต่าง/ไม่เหมือนอีก 3 อย่างที่เหลือ
เด็กๆชูมือสลอน แย่งกันตอบเซ็งแซ่ไปหมด คุณครูหูชา ฟังไม่รู้เรื่อง
บอกใหทุกคนเงียบเสียงก่อน แล้วชี้ไปที่เด็กหญิงผมจุกคนหนึ่ง แล้วถามว่า
หนูหิ่นจ๊ะ...หนูคิดว่า อะไรไม่เหมือนอีก 3 อย่างจ๊ะ ?
หนูน้อยตอบเสียงใสลั่นห้องเลยว่า [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เพื่อนๆหัวเราะเกรียว คุณครู จึงตอบเสียงดังฟังชัดว่า [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เพื่อนๆหัไปมองเห็บหนูหิ่นกันเกือบทั้งชั้น
ฆฯุหิ่นจึงชูมือ ยืนขึ้น ตอบเสียงดัง ใส ชัดเจนไปทั่วห้องว่า
ที่หนุตอบว่า [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
อีกท่านหนึ่ง ผู้พิพากษาอาวุโสศาลฎีกา (ศ.เกษมสันต์ วิลาวรรณ) สอนว่า “ทุกคดีมีข้อเท็จจริงเดียว แตโจทก์ จำเลย มักพูดไม่เหมือนกัน” ต้องชั่งให้รอบด้าน-ครบถ้วน แล้วค่อยตัดสิน
ปี 2548 เคยฟังผู้พิพากษาท่านหนึ่ง เล่าให้ฟังขณะบรรยายเรื่องการพิจารณากำหนดโทษ กรณีนายจ้างกล่าวหาว่าลูกจ้างทำผิดระเบียบ/วินัย ข้อบังคับฯ ในการทำงาน
ต้องมีขั้นตอนอย่างน้อย 12 ขั้นตอน ตั้งแต่ตั้งเรื่อง เสนอผู้มีอำนาจ แต่งตั้งกรรมการสอบหา (ไม่ใช่สอบสวน-ไม่ใช่เจ้าพนักงานตามกฎหมาย) ข้อเท็จจริง ตั้งกรรมการ แจ้งข้อกล่าวหา สอบปากคำ สอบพยาน บันทึกเอกสาร คำให้การของผู้ถูกกล่าวหา พยาน ทุกอย่าง สรุป พิจารณา วินิจฉัย กำหนดบทลงโทษ การลดโทษ กรรมการสอบหา สรุป เสนอความเห็นต่อผู้มีอำนาจ ตัดสินใจ สั่งการต่อไป
ยากที่สุด เห็นจะเป็นขั้น “วินิจฉัย” ต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหา “สู้จนหมดข้อสงสัย” จึงค่อยประชุมวินิจฉัย สั่งตัดพยาน/หลักฐาน ตามอำเภอใจไม่ได้
แล้วท่านก็ยกตัวอย่างให้ช่วยกันคิดว่า จะตอบว่าอย่างไรดี
ครูสาวถามเด็กชั้นอนุบาล 3 (อายุ ?) ว่า
ระหว่าง ครู ควาย สุนัข จิ้งจก...อันไหน แตกต่าง/ไม่เหมือนอีก 3 อย่างที่เหลือ
เด็กๆชูมือสลอน แย่งกันตอบเซ็งแซ่ไปหมด คุณครูหูชา ฟังไม่รู้เรื่อง
บอกใหทุกคนเงียบเสียงก่อน แล้วชี้ไปที่เด็กหญิงผมจุกคนหนึ่ง แล้วถามว่า
หนูหิ่นจ๊ะ...หนูคิดว่า อะไรไม่เหมือนอีก 3 อย่างจ๊ะ ?
หนูน้อยตอบเสียงใสลั่นห้องเลยว่า [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เพื่อนๆหัวเราะเกรียว คุณครู จึงตอบเสียงดังฟังชัดว่า [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เพื่อนๆหัไปมองเห็บหนูหิ่นกันเกือบทั้งชั้น
ฆฯุหิ่นจึงชูมือ ยืนขึ้น ตอบเสียงดัง ใส ชัดเจนไปทั่วห้องว่า
ที่หนุตอบว่า [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ใครผิด...ใครถูก ?
อีกท่านหนึ่ง ผู้พิพากษาอาวุโสศาลฎีกา (ศ.เกษมสันต์ วิลาวรรณ) สอนว่า “ทุกคดีมีข้อเท็จจริงเดียว แตโจทก์ จำเลย มักพูดไม่เหมือนกัน” ต้องชั่งให้รอบด้าน-ครบถ้วน แล้วค่อยตัดสิน
แสดงความคิดเห็น
ในโจทย์อันนี้ใครผิดคะ
อันนี้เป็นโจทย์ที่จารย์ตั้งมาค่ะ
หนูอยากรู้ค่ะว่าใครต้องรับผิดชอบ
หนูคิดว่าเป็นตัวปตท. ต้องรับผิดชอบเองใช่มั้ยคะเพราะว่า ในโจทย์โรงงานSB ยังไม่ได้จ่ายค่าน้ำมัน ปตท.ก็ต้องรับผิดชอบเอง ไรงี้มั้ยคะ?