เราทำงานกลุ่มมาและเนื้อหา หายากมากๆ เลยอยากสร้างกระทู้นี้ให้กับเพื่อนๆที่ได้ทำงานแนวนี้และหาข้อมูลไม่ได้
■ภาคกลาง
-เป็นพื้นที่ลาบลุ่มจึงมีแม่น้ำคลองหลายสาย เลยเป็นอาหารของพืชและสัตว์น้ำ
พื้นที่บางส่วนอยู่ติดทะเลจึงทำให้มีวัตถุดิบในการประกอบอาหารที่หลากหลาย
-การที่อาหารภาคกลางมีรสชาติและการตกแต่งอาหารที่หลากหลาย
-เพราะรับวัตนธรรมมาจากจีน อินเดีย และชาวตะวันตก
-สำรับอาหารของภาคกลางมักมีน้ำพริกและผักน้ำจิ้มโดยกินกับข้าวสวย
•ยกตัวอย่างเช่น•
●ขนมจีนน้ำยา
-น้ำยามีกลิ่นเฉพาะตัว มีความเข้มข้น และสีของยำแกงสม่ำเสมอไม่มีการลอยหน้า เนื้อละเอียดหอมกะทิ รสชาติเค็ม มัน หวาน จากกะทิและเนื้อปลา
●แกงเทโพ
เป็นแกงรสเผ็ด ใส่กะทิ ผักบุ้ง และหมูสามชั้น
-แต่เดิมแกงเทโพ ใส่แค่ปลาเทโพ
แต่ปัจจุบันนิยมใส่หมูสามชั้น เป็นแกงกะทิ-รสชาติเข้มข้นที่มีทั้ง เปรี้ยวเค็มหวาน เล็กน้อย
■ภาคอีสาน
-ภาคอีสานมีผลต่อการกินของท้องถิ่นมากๆ เนื่องจากบางแห่ง แห้งแล้ง
-วัตถุดิบในการหามาประกอบอาหาร หาได้ตามธรรมชาติได้แก่ ปลา พืชผัก และแมลงบางชนิด
-ภาคอีสานนิยมกินข้าวเหนียวเป็นหลัก เนื้อสัตว์ที่ใช้ ได้แก่ กบ เขียด แย้ และแมลงต่างๆ
-รสชาติอาหารของภาคอีสานมีที่มาจาก
รสเค็มจากปลาร้า รสเผ็ดจากพริกแห้งและพริกสด รสเปรี้ยวจากมะกอก ส้มมะขาม และมดแดง
•ยกตัวอย่างเช่น•
●ลาบหมู
นิยมทำในโอกาสพิเศษหรืองานเทศกาลต่างๆ
-ส่วนประกอบหลักคือหมูสดสับละเอียดคลุกเคล้ากับเครื่องในต้ม หั่นซอย ปรุงกับเครื่องเทศ
นิยมกินลาบ กับผักสด หรือประเภทสมุนไพรที่มีกลิ่นแรง
●แจ่ว
เป็นอาหารพื้นฐานที่ใช้เครื่องจิ้มเพื่อสร้างรสอาหาร มีวิธีทำที่ง่าย โดยใช้น้ำปลาร้าและพริกผสมกัน สามารถใช้ได้ทั้งพริกสดและพริกแห้ง
จิ้มแจ่วอาจเป็นผักหรือเนื้อสัตว์
-จะมีรสสัมผัสที่เปรี้ยว
■ภาคเหนือ
ภาคเหนือจะมีความเชื่อในเรื่องอาหาร ที่มงคลและไม่มลคล
•ยกตัวอย่างเช่น•
●ลาบ
ซึ่งคำว่าลาบพ้องเสียงกับคำว่าลาภที่เป็นภอสำเภา นิยมกินกันในงานบุญ
●แกงบะหนุน
นิยมกินในวันปีใหม่ โดนเชื่อว่า คำว่า หนุน หมายถึงมีคนคอยค้ำจุนตลอดปี
■ภาคใต้
มีรสชาติอาหารที่โดดเด่น โดยมีลักษณะผสมระหว่างอาหารพื้นบ้านกับอาหารอินเดียใต้
เช่น น้ำบูดู ได้มาจากการหมักปลา และการกินของภาคใต้คือมีผักเป็นเครื่องจิ้มหรือผักแกล้ม
•ยกตัวอย่างเช่น•
●แกงกุ้งผักกูด
ผักกูดเป็นที่นิยมในถิ่นปัตตานี ผักกูด จะมีสีเขียวสด ใบประกอบแบบขน ยอดหยิกม้วนงอ มีชั้นเชิงทางศิลปะ
-จึงทำให้ชนชั้นสูงนำผักกูดมาเป็นวัตถุดิบอาหาร ที่ใช้ในงานเลี้ยงต้อนรับบุคคลสำคัญ หรือ กินกับครอบครัวในวันสำคัญ
●หัวยำปลี
ด้วยรสชาติของหัวปลีมีความฝาดจึงนำมายำกับกะทิผสมน้ำตาลทราย และเกลือ
-เป็นอาหารที่นิยมกินที่บ้าน หรือบางครั้งก็กินในงานมงคลต่างๆ
งาน อาหารในประเพณีและเทศกาลสำคัญของแตาละภาค
-เป็นพื้นที่ลาบลุ่มจึงมีแม่น้ำคลองหลายสาย เลยเป็นอาหารของพืชและสัตว์น้ำ
พื้นที่บางส่วนอยู่ติดทะเลจึงทำให้มีวัตถุดิบในการประกอบอาหารที่หลากหลาย
-การที่อาหารภาคกลางมีรสชาติและการตกแต่งอาหารที่หลากหลาย
-เพราะรับวัตนธรรมมาจากจีน อินเดีย และชาวตะวันตก
-สำรับอาหารของภาคกลางมักมีน้ำพริกและผักน้ำจิ้มโดยกินกับข้าวสวย
•ยกตัวอย่างเช่น•
●ขนมจีนน้ำยา
-น้ำยามีกลิ่นเฉพาะตัว มีความเข้มข้น และสีของยำแกงสม่ำเสมอไม่มีการลอยหน้า เนื้อละเอียดหอมกะทิ รสชาติเค็ม มัน หวาน จากกะทิและเนื้อปลา
●แกงเทโพ
เป็นแกงรสเผ็ด ใส่กะทิ ผักบุ้ง และหมูสามชั้น
-แต่เดิมแกงเทโพ ใส่แค่ปลาเทโพ
แต่ปัจจุบันนิยมใส่หมูสามชั้น เป็นแกงกะทิ-รสชาติเข้มข้นที่มีทั้ง เปรี้ยวเค็มหวาน เล็กน้อย
■ภาคอีสาน
-ภาคอีสานมีผลต่อการกินของท้องถิ่นมากๆ เนื่องจากบางแห่ง แห้งแล้ง
-วัตถุดิบในการหามาประกอบอาหาร หาได้ตามธรรมชาติได้แก่ ปลา พืชผัก และแมลงบางชนิด
-ภาคอีสานนิยมกินข้าวเหนียวเป็นหลัก เนื้อสัตว์ที่ใช้ ได้แก่ กบ เขียด แย้ และแมลงต่างๆ
-รสชาติอาหารของภาคอีสานมีที่มาจาก
รสเค็มจากปลาร้า รสเผ็ดจากพริกแห้งและพริกสด รสเปรี้ยวจากมะกอก ส้มมะขาม และมดแดง
•ยกตัวอย่างเช่น•
●ลาบหมู
นิยมทำในโอกาสพิเศษหรืองานเทศกาลต่างๆ
-ส่วนประกอบหลักคือหมูสดสับละเอียดคลุกเคล้ากับเครื่องในต้ม หั่นซอย ปรุงกับเครื่องเทศ
นิยมกินลาบ กับผักสด หรือประเภทสมุนไพรที่มีกลิ่นแรง
●แจ่ว
เป็นอาหารพื้นฐานที่ใช้เครื่องจิ้มเพื่อสร้างรสอาหาร มีวิธีทำที่ง่าย โดยใช้น้ำปลาร้าและพริกผสมกัน สามารถใช้ได้ทั้งพริกสดและพริกแห้ง
จิ้มแจ่วอาจเป็นผักหรือเนื้อสัตว์
-จะมีรสสัมผัสที่เปรี้ยว
■ภาคเหนือ
ภาคเหนือจะมีความเชื่อในเรื่องอาหาร ที่มงคลและไม่มลคล
•ยกตัวอย่างเช่น•
●ลาบ
ซึ่งคำว่าลาบพ้องเสียงกับคำว่าลาภที่เป็นภอสำเภา นิยมกินกันในงานบุญ
●แกงบะหนุน
นิยมกินในวันปีใหม่ โดนเชื่อว่า คำว่า หนุน หมายถึงมีคนคอยค้ำจุนตลอดปี
■ภาคใต้
มีรสชาติอาหารที่โดดเด่น โดยมีลักษณะผสมระหว่างอาหารพื้นบ้านกับอาหารอินเดียใต้
เช่น น้ำบูดู ได้มาจากการหมักปลา และการกินของภาคใต้คือมีผักเป็นเครื่องจิ้มหรือผักแกล้ม
•ยกตัวอย่างเช่น•
●แกงกุ้งผักกูด
ผักกูดเป็นที่นิยมในถิ่นปัตตานี ผักกูด จะมีสีเขียวสด ใบประกอบแบบขน ยอดหยิกม้วนงอ มีชั้นเชิงทางศิลปะ
-จึงทำให้ชนชั้นสูงนำผักกูดมาเป็นวัตถุดิบอาหาร ที่ใช้ในงานเลี้ยงต้อนรับบุคคลสำคัญ หรือ กินกับครอบครัวในวันสำคัญ
●หัวยำปลี
ด้วยรสชาติของหัวปลีมีความฝาดจึงนำมายำกับกะทิผสมน้ำตาลทราย และเกลือ
-เป็นอาหารที่นิยมกินที่บ้าน หรือบางครั้งก็กินในงานมงคลต่างๆ