มีนักธุรกิจชื่อดังท่านหนึ่ง เค้าเล่าว่าตอนแรกขายสินค้าได้ไม่ดีมีแต่คนหัวเราะเยาะ เค้าเลยคิดกลยุทธ์โดยการเชิญผู้ผลิตสินค้ารายใหญ่ 2 รายมาเลี้ยงอาหารและทำข้อตกลงกันว่าให้ผู้ผลิตทั้ง 2 รายไม่ส่งสินค้าให้ร้านค้าปลีกรายย่อย ถ้าหากร้านค้าปลีกรายย่อยไม่ยอมทำสัญญาเปลี่ยนมาใช้ภาชนะบรรจุสินค้าของนักธุรกิจท่านนั้น ซึ่งร้านค้าปลีกจะต้องยอมจ่ายค่ามัดจำภาชนะจากเดิม 10 บาทเป็น 60 บาท จึงทำให้สินค้าของนักธุรกิจท่านนั้นขายดีขึ้นมาทันที จนปัจจุบันสินค้าของนักธุรกิจท่านนั้นขายดีเป็นอันดับต้นๆระดับโลกเลยทีเดียว
ฟังแล้วก็รู้สึกมึนงงเป็นอย่างมากว่านักธุรกิจท่านนั้นทำธุรกิจแบบนี้ก็ได้หรอ? การทำแบบนี้เรียกว่ากลยุทธ์ทางการตลาดงั้นหรอ? ไม่เรียกว่าการฮั้วกันบีบบังคับซื้อให้ร้านค้าปลีกรายย่อยต้องจ่ายค่ามัดจำเพิ่มจาก 10 บาทเป็น 60 บาทงั้นหรอ? ถ้าร้านค้าปลีกเค้าไม่มีเงินเค้าก็ต้องไปกู้เงินมาจ่ายค่ามัดจำที่เพิ่มสูงกว่า 6 เท่าให้นักธุรกิจรายนั้นหรือไม่นะ?ทำไมเราฟังดูแล้วมันเหมือนกับว่านักธุรกิจท่านนั้นไปบีบบังคับเอาเงินสดจากร้านค้าปลีกให้มาจ่ายซื้อสินค้าของเค้ามากกว่านะ เราว่าทำแบบนี้มันไม่ใช่กลยุทธ์ทางการตลาดแต่มันดูเหมือนวิธีการฉ้อฉลทางการตลาดไหมนะ?
แล้วมันก็ดูคล้ายๆกับกลยุทธ์ของนโยบายแจกเงินดิจิทัล 10,000 บาทจากเงินกู้ของ ปชช ไหมนะ? เพราะสุดท้ายเงินก็ไหลเข้าสู่กระเป๋านายทุนโดยที่นายทุนไม่ต้องกู้เองเลยเน้อ....
เราควรเรียกวิธีการแบบนี้ว่า 'กลยุทธ์' หรือ 'ฉ้อฉล' กันแน่นะ? แล้วทำไมนายทุนถึงทำได้จนร่ำรวยล่ะ?
ฟังแล้วก็รู้สึกมึนงงเป็นอย่างมากว่านักธุรกิจท่านนั้นทำธุรกิจแบบนี้ก็ได้หรอ? การทำแบบนี้เรียกว่ากลยุทธ์ทางการตลาดงั้นหรอ? ไม่เรียกว่าการฮั้วกันบีบบังคับซื้อให้ร้านค้าปลีกรายย่อยต้องจ่ายค่ามัดจำเพิ่มจาก 10 บาทเป็น 60 บาทงั้นหรอ? ถ้าร้านค้าปลีกเค้าไม่มีเงินเค้าก็ต้องไปกู้เงินมาจ่ายค่ามัดจำที่เพิ่มสูงกว่า 6 เท่าให้นักธุรกิจรายนั้นหรือไม่นะ?ทำไมเราฟังดูแล้วมันเหมือนกับว่านักธุรกิจท่านนั้นไปบีบบังคับเอาเงินสดจากร้านค้าปลีกให้มาจ่ายซื้อสินค้าของเค้ามากกว่านะ เราว่าทำแบบนี้มันไม่ใช่กลยุทธ์ทางการตลาดแต่มันดูเหมือนวิธีการฉ้อฉลทางการตลาดไหมนะ?
แล้วมันก็ดูคล้ายๆกับกลยุทธ์ของนโยบายแจกเงินดิจิทัล 10,000 บาทจากเงินกู้ของ ปชช ไหมนะ? เพราะสุดท้ายเงินก็ไหลเข้าสู่กระเป๋านายทุนโดยที่นายทุนไม่ต้องกู้เองเลยเน้อ....