คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
เวลาศาลท่านตัดสินคดีความอะไรก็ตาม จะมีข้อความอธิบายคำตัดสินตอนจบอยู่ ว่าเคสนี้ ผิดยังไง อันนี้เรียกว่า “ฎีกา” (ไม่ใช่ฟันถูกผิดโช๊ะๆแบบในหนังแล้วจบเลย จะมีการอธิบายเป็นหน้าๆว่าผิดถูกเพราะอะไร)
เรื่องกฎหมายต้องแยกกันก่อน ประมวลกฎหมายส่วนนึง ฎีกาก็อีกส่วนนึง คนละอย่างกัน
ทีนี้ประมวลกฎหมายจะมีโทษขั้นต่ำ-ขั้นสูงอยู่ อย่างปรับ 100- 100000บาท จำคุก 1ปี-10ปี ถามว่าเอาโทษสูงสุดหรือต่ำสุดดีล่ะทีนี้
เวลาขึ้นว่าความจะมีอยู่2ฝ่าย ฝ่ายที่ก่อคดี ก็อยากจะติดคุกน้อยๆ ฝ่ายผู้เสียหายก็อยากให้ติดคุกเยอะๆ
กรณีถ้าศาลเคยตัดสินคดีความแบบนี้มาแล้ว ก็จะมีฎีกาเอามาให้อ้างได้ ว่าตอนโน้นตัดสินไปว่ายังไง โทษเท่าไหร่ ผิดหรือไม่ผิด
แต่ในกรณีที่ไม่เคยมีฎีกา ก็ตัดสินตามประมวลกฎหมายปกติ ตามวินิจฉัยของศาลท่าน แล้วก็ออกฎีกาตัวใหม่ตามมา(ไว้ไปใช้อ้างอิงในอนาคต)
ตอบตามคำถาม
1.ถ้ามีฎีกาก็อ้างได้ง่ายหน่อย เพราะเคยตัดสินมาแล้วคดีแบบนี้
2.ทุกคดีโทษตามประมวลกฎหมาย ไม่ขาดไม่เกิน มากน้อยอยู่ที่เอาฎีกามาอ้าง (ถ้าไม่มีก็แล้วแต่ศาลท่านพิจารณา)
3.ประมวล แค่กำหนดโทษแบบกว้างๆ อย่างถ้าโดนคดี10ปี แล้วเคยมีฎีกาว่า คดีแบบนี้โดน1ปี เอาฎีกามาอ้างได้(แต่ทั้งหมดทั้งมวลอยู่ที่ศาลพิจารณาอีกที ) ฎีกาใช้เป็นใบผ่านทางไม่ได้ตลอด
4.เพื่อให้อธิบายให้เห็นภาพ เหมือนคุณไปหาหมอ แล้วหมอออกใบรับรองแพทย์(ฎีกา)ให้ว่าอาการคุณเป็นแบบนี้ เลยเป็นโรคนี้ๆ
เวลาไปหาหมอโรงบาลอื่นคุณก็ยื่นใบรับรองแพทย์ให้เขาดู เขาก็จ่ายยาให้คุณเร็วขึ้น (แต่ก็ขึ้นกับหมอว่าจะตรวจใหม่รึเปล่า)
เรื่องกฎหมายต้องแยกกันก่อน ประมวลกฎหมายส่วนนึง ฎีกาก็อีกส่วนนึง คนละอย่างกัน
ทีนี้ประมวลกฎหมายจะมีโทษขั้นต่ำ-ขั้นสูงอยู่ อย่างปรับ 100- 100000บาท จำคุก 1ปี-10ปี ถามว่าเอาโทษสูงสุดหรือต่ำสุดดีล่ะทีนี้
เวลาขึ้นว่าความจะมีอยู่2ฝ่าย ฝ่ายที่ก่อคดี ก็อยากจะติดคุกน้อยๆ ฝ่ายผู้เสียหายก็อยากให้ติดคุกเยอะๆ
กรณีถ้าศาลเคยตัดสินคดีความแบบนี้มาแล้ว ก็จะมีฎีกาเอามาให้อ้างได้ ว่าตอนโน้นตัดสินไปว่ายังไง โทษเท่าไหร่ ผิดหรือไม่ผิด
แต่ในกรณีที่ไม่เคยมีฎีกา ก็ตัดสินตามประมวลกฎหมายปกติ ตามวินิจฉัยของศาลท่าน แล้วก็ออกฎีกาตัวใหม่ตามมา(ไว้ไปใช้อ้างอิงในอนาคต)
ตอบตามคำถาม
1.ถ้ามีฎีกาก็อ้างได้ง่ายหน่อย เพราะเคยตัดสินมาแล้วคดีแบบนี้
2.ทุกคดีโทษตามประมวลกฎหมาย ไม่ขาดไม่เกิน มากน้อยอยู่ที่เอาฎีกามาอ้าง (ถ้าไม่มีก็แล้วแต่ศาลท่านพิจารณา)
3.ประมวล แค่กำหนดโทษแบบกว้างๆ อย่างถ้าโดนคดี10ปี แล้วเคยมีฎีกาว่า คดีแบบนี้โดน1ปี เอาฎีกามาอ้างได้(แต่ทั้งหมดทั้งมวลอยู่ที่ศาลพิจารณาอีกที ) ฎีกาใช้เป็นใบผ่านทางไม่ได้ตลอด
4.เพื่อให้อธิบายให้เห็นภาพ เหมือนคุณไปหาหมอ แล้วหมอออกใบรับรองแพทย์(ฎีกา)ให้ว่าอาการคุณเป็นแบบนี้ เลยเป็นโรคนี้ๆ
เวลาไปหาหมอโรงบาลอื่นคุณก็ยื่นใบรับรองแพทย์ให้เขาดู เขาก็จ่ายยาให้คุณเร็วขึ้น (แต่ก็ขึ้นกับหมอว่าจะตรวจใหม่รึเปล่า)
แสดงความคิดเห็น
ฎีกาคืออะไร (เกี่ยวกับกฎหมาย)
ชื่อคัมภีร์หนังสือที่แก้หรือ อธิบายคัมภีร์อรรถกถา;
หนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์;ใบแจ้ง การขอเบิกเงินจากคลัง;
ใบบอกบุญเรี่ยไร; (กฎ) คําร้องทุกข์ที่ ราษฎรทูลเกล้าฯ ถวายต่อพระมหากษัตริย์;
ชื่อศาลยุติธรรมสูงสุด ของประเทศไทย ซึ่งเรียกว่าศาลฎีกา;
การคัดค้านคําพิพากษาหรือ คําสั่งศาลอุทธรณ์ที่คู่ความยื่นต่อศาลชั้นต้น เพื่อเสนอให้ศาลฎีกา พิจารณาพิพากษาหรือวินิจฉัยชี้ขาด;
ซึ่งไม่มองเห็นภาพแต่อย่างใด🤐🤐🤐
เท่าที่ฟังๆมาคือจารบอกว่าฎีกาคือคำพิพากษาในอดีตในชั้นศาลฎีกา ซึ่งเราสามารถนำแย้งกับคำตัดสินที่เรากำลังโดนตัดสินอยู่ได้ เช่นจากจำคุก 5 ปี ถ้าในฎีกาคดีเหมือนๆกับเราก็สามารถนำมาใช้ในการแย้งเพื่อให้เราได้รับโทษน้อยลงได้
แต่ผมยังติดอยู่ว่า
1. ทุกการพิจารณาความผิดคือเราจำเป็นต้องเอาฎีกามาอ้างอิงหมดเลยเหรอครับ
2. แล้วอย่างนี้ทุกคดีก็ไม่ต้องเอาโทษตามประมวลกฎหมายแล้วเหรอครับเพราะสุดท้ายคนเราก็อยากติดคุกให้น้อยลง
3. แล้วจารจะให้เราเอามาทั้งฎีกาทั้งประมวลกฎหมายมา แต่สุดท้ายเราก็ได้รับโทษต่ำกว่าเพราะเราเอาฎีกามาแย้งให้เราไม่ต้องรับโทษตามประมวลกฎหมายอยู่ดี คือความจริงมันเป็นอย่างนี้ใช่มั้ย?
4. ช่วยอธิบายเพิ่มเติมหน่อยครับว่าฎีกาคืออะไร (แบบเห็นภาพ)
>>> ถ้าคิดว่าคำถามผมดูโง่เกินไปต้องขอโทษด้วยครับ เพราะผมมัน Novice จริงๆจับต้นชนปลายไม่ค่อยถูกเลย