วันชาติของไทยน่าจะยึดถือวันที่รัชกาลที่ ๗ ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกแห่งราชอาณาจักรไทยมากที่สุดคือวันที่ 10 ธันวา เนื่องจากถือว่าเป็นจุดเปลี่ยน เป็นหลักไมล์ของสยามยุคใหม่ที่เป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ไม่ควรใช้วันที่ 24 มิถุนายน ที่คณะราษฏรทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (อย่างน้อยใช้วันที่ 10 ธ.ค ก็จะถือว่าให้ความสำคัญกับทั้งชาติและกษัตริย์ในเวลาเดียวกัน เหมือนหลายประเทศในยุโรป)
เท่าที่ค้นข้อมูลวันชาติของแต่ละประเทศที่มีระบอบการปกครองเดียวกัน วันชาติของประเทศนั้นๆ มักนิยมยึดวันสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่เป็นจุดเปลี่ยนหรือหลักไมล์ทางประวัติศาสตร์ชาติเป็น "วันชาติ" ประเทศที่ปกครองในระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญที่ยึดโยงกับสถาบันกษัตริย์ก็จริงแต่วิธีการกำหนดวันชาติต่างจากเรา มีเพียงประเทศเนเธอร์แลนด์ที่ถือเอาวันพระราชสมภพและวันขึ้นครองราชย์ของสมเด็จพระราชินีเป็นวันชาติ
หลายคนบอกว่าวันชาติอังกฤษเอาวันเฉลิมพระชนมพรรษาของควีน ไปหาข้อมูลพบว่าอังกฤษไม่มีวันชาติอย่างเป็นทางการ บ้างก็บอกว่าใช้วันสำคัญทางศาสนา (เช่นของสก็อตแลนด์ ไอร์แลนด์ และอังกฤษ) เป็นวันชาติ บ้างก็ว่าใช้วัน May Day เป็นวันชาติแทน
ในหลายๆ ประเทศแถบสแกนดิเนเวียนที่มีกษัตริย์มักใช้วันสำคัญในประวัติศาสตร์ที่เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ(แต่ยึดโยงกับสถาบันกษัตริย์อยู่) เป็นวันชาติ
วันชาติสวีเดน การเฉลิมฉลองวันที่ 6 มิถุนายน เริ่มต้นตั้งแต่ ค.ศ. 1916 ณ สนามกีฬาโอลิมปิกสต็อกโฮล์ม เพื่อเป็นเกียรติแก่การแต่งตั้งพระเจ้ากุสตาฟที่ 1 ใน ค.ศ. 1523 ซึงถือว่าเป็นการก่อตั้งของประเทศสวีเดนสมัยใหม่
วันรัฐธรรมนูญนอร์เวย์ (อังกฤษ: Norwegian Constitution Day) เป็นวันชาติของนอร์เวย์ที่ถือเป็นวันหยุดประจำปี ตรงกับวันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันเฉลิมฉลองที่ระลึกถึงเหตุการณ์วันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1814 ที่ชาวชาวนอร์เวย์มีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเอง วันรัฐธรรมนูญ ขบวนพาเหรดในวันรัฐธรรมนูญนอร์เวย์
วันชาติเบลเยี่ยม เป็นการเฉลิมฉลองการแยกตัวของเบลเยี่ยมจากเนเธอร์แลนด์ในปี 2374 และการก่อตั้งราชอาณาจักรอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 21 ก.ค. 2374 Leopold of Saxe-Coburg ปฏิญาณตนต่อรัฐธรรมนูญเบลเยี่ยมและขึ้นเป็นพระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยี่ยม พระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยี่ยมพระองค์แรก
เนเธอร์แลนด์ วันชาติ 30 เมษายน (วันพระราชสมภพของสมเด็จพระราชินีนาถจูเลียนา และวันขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์) ระบอบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ
วันชาติสเปน La Fiesta Nacional de España เป็นการรำลึกถึงการค้นพบทวีปอเมริกา โดยคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสสำหรับสเปนในวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1492
เนื่องจากสหราชอาณาจักรประกอบไปด้วย 4 ประเทศ ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ จึงไม่มีการกำหนด “วันชาติ” ร่วมกันอย่างเป็นทางการ และใน 4 ประเทศนี้ก็ไม่มีการกำหนด “วันชาติ” ของตนเองอย่างเป็นทางการ แต่ประชาชนมักยึดถือเอาวันสำคัญทางศาสนาเป็นการเฉลิมฉลองหลัก โดยในอังกฤษยึดวันเซนต์จอร์จ ซึ่งตรงกับวันที่ 23 เมษายนของทุกปีเป็นวันชาติในทางปฏิบัติ เวลส์เลือกวันเซนต์เดวิดซึ่งตรงกับวันที่ 1 มีนาคม ส่วนไอร์แลนด์เหนือใช้วันที่ 17 มีนาคม ซึ่งเป็นวันเซนต์แพตทริกเป็นวันชาติ ขณะที่สกอตแลนด์เลือกเอาวันเซนต์แอนดรูว์ ซึ่งตรงกับวันที่ 30 พฤศจิกายนของทุกปีเป็นการเฉลิมฉลอง
เดนมาร์กไม่ได้มีวันชาติอย่างเป็นทางการ แต่ยึดถือวันรัฐธรรมนูญ (เดนมาร์ก: Grundlovsdag) จัดขึ้นในเดนมาร์กในวันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันเชิดชูรัฐธรรมนูญของเดนมาร์ก เนื่องจากทั้งรัฐธรรมนูญฉบับแรกของปี 1849 และรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันของปี 1953 ได้ลงนามในวันนี้ของปีนั้นๆ
สหราชอาณาจักรถือได้ว่าเป็นหนึ่งในประเทศเดียวในโลกที่ไม่มีวันชาติเพื่อการเฉลิมฉลองประเทศ
กำหนดให้จัดขึ้นทุกปีในวัน May Day Bank Holiday (May Day หรือวันจันทร์แรกของเดือนพฤษภาคมเพิ่งกลายเป็นวันหยุดธนาคารในปี 1978 แต่ต้นกำเนิดเป็นวันแห่งการเฉลิมฉลองย้อนกลับไปกว่าสองพันปี! มันอยู่ประมาณระหว่างฤดูใบไม้ผลิ ที่กลางวันและกลางคืนเท่ากันและครีษมายันและเซลติกส์) และใช้เพื่อระลึกถึงการเฉลิมฉลองวันครบรอบ Act of Union ซึ่งก่อตั้งสหราชอาณาจักรในวันที่ 1 พฤษภาคม 1707
วันชาติญี่ปุ่น (建国記念の日) ตรงกับวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ในวันนี้ ชาวญี่ปุ่นเฉลิมฉลองการก่อตั้งชาติและเชื้อสายจักรพรรดิตามจักรพรรดิในตำนานพระองค์แรก จิมมุ ผู้ซึ่งได้สร้างเมืองหลวงขึ้นที่ยามาโตะ เมื่อ 660 ปีก่อนคริสตกาล
วันชาติไทยควรตรงกับวันที่ 10 ธันวาคมมากที่สุดโดยยึดหลักไมล์แรกที่รัชกาลที่ ๗ ทรงพระราชทานรธนฉบับแรก
เท่าที่ค้นข้อมูลวันชาติของแต่ละประเทศที่มีระบอบการปกครองเดียวกัน วันชาติของประเทศนั้นๆ มักนิยมยึดวันสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่เป็นจุดเปลี่ยนหรือหลักไมล์ทางประวัติศาสตร์ชาติเป็น "วันชาติ" ประเทศที่ปกครองในระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญที่ยึดโยงกับสถาบันกษัตริย์ก็จริงแต่วิธีการกำหนดวันชาติต่างจากเรา มีเพียงประเทศเนเธอร์แลนด์ที่ถือเอาวันพระราชสมภพและวันขึ้นครองราชย์ของสมเด็จพระราชินีเป็นวันชาติ
หลายคนบอกว่าวันชาติอังกฤษเอาวันเฉลิมพระชนมพรรษาของควีน ไปหาข้อมูลพบว่าอังกฤษไม่มีวันชาติอย่างเป็นทางการ บ้างก็บอกว่าใช้วันสำคัญทางศาสนา (เช่นของสก็อตแลนด์ ไอร์แลนด์ และอังกฤษ) เป็นวันชาติ บ้างก็ว่าใช้วัน May Day เป็นวันชาติแทน
ในหลายๆ ประเทศแถบสแกนดิเนเวียนที่มีกษัตริย์มักใช้วันสำคัญในประวัติศาสตร์ที่เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ(แต่ยึดโยงกับสถาบันกษัตริย์อยู่) เป็นวันชาติ
วันชาติสวีเดน การเฉลิมฉลองวันที่ 6 มิถุนายน เริ่มต้นตั้งแต่ ค.ศ. 1916 ณ สนามกีฬาโอลิมปิกสต็อกโฮล์ม เพื่อเป็นเกียรติแก่การแต่งตั้งพระเจ้ากุสตาฟที่ 1 ใน ค.ศ. 1523 ซึงถือว่าเป็นการก่อตั้งของประเทศสวีเดนสมัยใหม่
วันรัฐธรรมนูญนอร์เวย์ (อังกฤษ: Norwegian Constitution Day) เป็นวันชาติของนอร์เวย์ที่ถือเป็นวันหยุดประจำปี ตรงกับวันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันเฉลิมฉลองที่ระลึกถึงเหตุการณ์วันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1814 ที่ชาวชาวนอร์เวย์มีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเอง วันรัฐธรรมนูญ ขบวนพาเหรดในวันรัฐธรรมนูญนอร์เวย์
วันชาติเบลเยี่ยม เป็นการเฉลิมฉลองการแยกตัวของเบลเยี่ยมจากเนเธอร์แลนด์ในปี 2374 และการก่อตั้งราชอาณาจักรอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 21 ก.ค. 2374 Leopold of Saxe-Coburg ปฏิญาณตนต่อรัฐธรรมนูญเบลเยี่ยมและขึ้นเป็นพระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยี่ยม พระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยี่ยมพระองค์แรก
เนเธอร์แลนด์ วันชาติ 30 เมษายน (วันพระราชสมภพของสมเด็จพระราชินีนาถจูเลียนา และวันขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์) ระบอบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ
วันชาติสเปน La Fiesta Nacional de España เป็นการรำลึกถึงการค้นพบทวีปอเมริกา โดยคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสสำหรับสเปนในวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1492
เนื่องจากสหราชอาณาจักรประกอบไปด้วย 4 ประเทศ ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ จึงไม่มีการกำหนด “วันชาติ” ร่วมกันอย่างเป็นทางการ และใน 4 ประเทศนี้ก็ไม่มีการกำหนด “วันชาติ” ของตนเองอย่างเป็นทางการ แต่ประชาชนมักยึดถือเอาวันสำคัญทางศาสนาเป็นการเฉลิมฉลองหลัก โดยในอังกฤษยึดวันเซนต์จอร์จ ซึ่งตรงกับวันที่ 23 เมษายนของทุกปีเป็นวันชาติในทางปฏิบัติ เวลส์เลือกวันเซนต์เดวิดซึ่งตรงกับวันที่ 1 มีนาคม ส่วนไอร์แลนด์เหนือใช้วันที่ 17 มีนาคม ซึ่งเป็นวันเซนต์แพตทริกเป็นวันชาติ ขณะที่สกอตแลนด์เลือกเอาวันเซนต์แอนดรูว์ ซึ่งตรงกับวันที่ 30 พฤศจิกายนของทุกปีเป็นการเฉลิมฉลอง
เดนมาร์กไม่ได้มีวันชาติอย่างเป็นทางการ แต่ยึดถือวันรัฐธรรมนูญ (เดนมาร์ก: Grundlovsdag) จัดขึ้นในเดนมาร์กในวันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันเชิดชูรัฐธรรมนูญของเดนมาร์ก เนื่องจากทั้งรัฐธรรมนูญฉบับแรกของปี 1849 และรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันของปี 1953 ได้ลงนามในวันนี้ของปีนั้นๆ
สหราชอาณาจักรถือได้ว่าเป็นหนึ่งในประเทศเดียวในโลกที่ไม่มีวันชาติเพื่อการเฉลิมฉลองประเทศ
กำหนดให้จัดขึ้นทุกปีในวัน May Day Bank Holiday (May Day หรือวันจันทร์แรกของเดือนพฤษภาคมเพิ่งกลายเป็นวันหยุดธนาคารในปี 1978 แต่ต้นกำเนิดเป็นวันแห่งการเฉลิมฉลองย้อนกลับไปกว่าสองพันปี! มันอยู่ประมาณระหว่างฤดูใบไม้ผลิ ที่กลางวันและกลางคืนเท่ากันและครีษมายันและเซลติกส์) และใช้เพื่อระลึกถึงการเฉลิมฉลองวันครบรอบ Act of Union ซึ่งก่อตั้งสหราชอาณาจักรในวันที่ 1 พฤษภาคม 1707
วันชาติญี่ปุ่น (建国記念の日) ตรงกับวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ในวันนี้ ชาวญี่ปุ่นเฉลิมฉลองการก่อตั้งชาติและเชื้อสายจักรพรรดิตามจักรพรรดิในตำนานพระองค์แรก จิมมุ ผู้ซึ่งได้สร้างเมืองหลวงขึ้นที่ยามาโตะ เมื่อ 660 ปีก่อนคริสตกาล