กระผมว่าที่ร้อยเอกอรุณวัชร์ กร่ำธาดา วิศวกร ระดับ 5 บมจ.โทรคมนาคมแห่งชาติ
ขอแนะนำคำศัพท์สารสนเทศที่ควรรู้และน่าสนใจครับ
IEEE ย่อมาจาก
Institute of Electrical and Electronics Engineers, องค์กรที่ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
IEEE
802 standards องค์กรที่จัดตั้งขึ้นมาในปี
1963 มีสมาชิกประกอบด้วย วิศวกร นักศึกษา
และนักวิทยาศาสตร์ IEEE ยังทำงานเป็นผู้ประสานงานสำหรับมาตรฐานในเรื่องการประมวลผลและการสื่อสารโดยเฉพาะ
มาตรฐาน IEEE 802 ที่กำหนดมาตรฐาน LAN
ใน physical และ data
link layer ตามด้วย ISO/OSI model
◾IEEE 802.1D
มาตรฐานควบคุมการเข้าใช้สำหรับการเชื่อมกับบริดจ์ในเครือข่าย 802.3
802.4 และ 802.5
◾IEEE 802.2
มาตรฐานที่กำหนด data-link
layer ซึ่งใช้กับเครือข่าย
802.3 802.4 และ
802.5
◾IEEE 802.3 10Base5 มาตรฐานที่ตรงกันกับผลิตภัณฑ์ Start Lan ของ AT&T ซึ่งมีอัตราการโอนย้ายข้อมูล
1 เมกะบิตต่อวินาที และความยาวสายแต่ละช่วงไม่เกิน 500 เมตร
◾IEEE 802.3 10Base2 การติดตั้งมาตรฐานอีเทอร์เน็ตให้ใช้งานได้บนสาย thin
ethernet ซึ่งมีอัตราการโอนย้ายข้อมูล
10 เมกะบิตต่อวินาที และความยาวสายแต่ละช่วงยาวได้ไม่เกิน 185 เมตร หรือ
600 ฟุต
◾IEEE 802.3 10Base-T มาตรฐานสำหรับอีเทอร์เน็ตบนสาย unshielded twisted pair (UTP) ซึ่งเป็นสายและมีตัวเชื่อมแบบ RJ 45 ที่ใช้กันในระบบสายโทรศัพท์อันทันสมัย
มาตรฐานนี้ใช้โทโพโลยีแบบดาว (star topology)
โดยที่แต่ละโหนดจะต่อเข้าไปยังศูนย์กลางการเชื่อมสาย และมีความยาวจำกัดไม่เกิน 100
เมตร หรือ 325 ฟุต
◾IEEE 802.3 10Broad36
กำหนดอีเทอร์เน็ตระยะไกลที่มีอัตราการส่งข้อมูลได้ 10 เมกะบิตต่อวินาที
และแต่ละช่วงของสายมีความยาวได้ไม่เกิน 3,600 เมตร
◾IEEE 802.4 กำหนดเครือข่ายที่ใช้โทโพโลยีแบบบัสที่ใช้ในการส่งผ่านโทเค็น
(token passing)
เพื่อควบคุมการเข้าใช้และการส่งข้อมูลภายในเครือข่ายโดยมีอัตราเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาที
◾IEEE 802.5 กำหนดเครือข่ายแบบวงแหวน (ring)
ที่ใช้การส่งผ่านโทเค็นเพื่อควบคุมการเข้าใช้และการส่งข้อมูลภายในเครือข่าย
โดยมีอัตราเร็ว 4 หรือ 16 เมกะบิตต่อวินาที ใช้กับเครือข่ายโทเค็นริงของไอบีเอ็ม
◾IEEE 802.6 กำหนดมาตรฐานสำหรับ Metropolitan Area Networks (MANs) ซึ่งส่งเสียง
ภาพวีดีโอ และข้อมูลผ่านทางสายใยแก้วนำแสง 2 เส้น ขนานกัน โดยใช้อัตราการส่ง 155
เมกะบิตต่อวินาที
◾IEEE 802.7 กำหนดมาตรฐานสำหรับ broadband local area networks ปัจจุบันมาตรฐานนี้ไม่ได้รับความสนใจแล้ว
◾IEEE 802.8 กำหนดมาตรฐานสำหรับเทคนิคใยแก้วนำแสง
◾IEEE 802.9 กลุ่มทำงานที่กำหนดมาตรฐานสำหรับผนวกรวมข้อมูลและเสียงเข้าด้วยกัน
โดยให้สามารถส่งผ่านระบบเครือข่ายแบบ twisted
pair cable
◾IEEE 802.10
มาตรฐานเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยในเครือข่ายที่พัฒนาข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับแบบจำลองระบบความปลอดภัยในเครือข่าย (ปัจจุบันมาตรฐานนี้ถูกยกเลิกไปแล้ว)
◾IEEE 802.11 เป็นกลุ่มมาตรฐานทางด้านเทคนิคของการสื่อสารแบบ half
duplex ผ่านระบบ modulation แบบไร้สาย ที่ใช้กันมากๆ ได้แก่ 802.11b และ
802.11g
IETF ย่อมาจาก
Internet Engineering Task Force
หน่วยงานซึ่งทำหน้าที่พัฒนามาตรฐานตามเทคโนโลยีเพื่อใช้ในอินเทอร์เน็ต กลุ่มของ IETF จะร่วมกันวางโครงการ
ร่างข้อเสนอที่จะกำหนดเป็นมาตรฐาน เพื่อส่งให้
IAB พิจารณาอนุมัติอีกขั้นหนึ่ง
IIS ย่อมาจาก
Internet Information Server
ซอฟต์แวร์ Microsoft’s
Web server ใช้เพื่อจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทำหน้าที่เป็นเว็ปเซิร์ฟเวอร์ได้เพื่อให้คุณได้ทดสอบการทำงานของโปรแกรมก่อนจะนำโค้ดไปใช้งานจริง
หรือในบางองค์กรอาจใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปทำหน้าที่เป็นเว็ปเซิร์ฟเวอร์ในระบบเครือข่ายอินทราเน็ตเพื่อให้พนักงานได้เข้าไปเปิดใช้งาน
iMac เครื่องคอมพิวเตอร์แอปเปิลในระบบ all-in-one โดยจะนำเอาจอภาพและเคสรวมไว้บนหน้าจอ
ซึ่งจะทำให้ประหยัดพื้นที่การใช้งาน
inkjet
printer เครื่องพิมพ์แบบหนึ่งที่สร้างภาพด้วยการพ่นละอองหมึกไปบนกระดาษแทนการกระแทกผ้าหมึกเข้ากับกระดาษตามที่เครื่องพิมพ์แบบดอทแมทริกซ์ทำ เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ตมีทั้งแบบขาวดำและสี
Integrated
Circuit ใช้คำย่อว่า
IC วงจรรวม
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็ก ที่มีส่วนประกอบเป็นสารกึ่งตัวนำขนาดเล็กจิ๋วจำนวนมากมาย
Integrated
software ซอฟต์แวร์ที่รวมเอาหลายๆ
แอปพลิเคชั่นเอาไว้ในโปรแกรมเดียว
Integrity คุณสมบัติของข้อมูลซึ่งสามารถที่จะนำกลับคืนมาได้
ในกรณีที่ข้อมูลนี้สูญหายไปอันเนื่องมาจากความล้มเหลวของสื่อเก็บข้อมูล หรือการทำงานที่ผิดปกติของโปรแกรม
Intel บริษัทที่ผลิตไมโครโปรเซสเซอร์อินเทลที่มีอยู่ในเครื่องพีซีและโน้ตบุ๊ค
ก่อตั้งขึ้นในปี 1968 ได้พัฒนาโปรเซลเซอร์และผลิตภัณฑ์ต่างๆ เกี่ยวกับแผงวงจร
มากมาย ข้อมูลเพิ่มเติมดูที่
http://www.intel.com
Interactive อินเตอร์แอกทีฟ, โปรแกรมแบบตอบรับทันที
โปรแกรมหรือคอมพิวเตอร์ที่ตอบรับออกมาทันทีเมื่อผู้ใช้กดปุ่ม หรือทำอะไรบางอย่าง
International
Organization for Standardization ใช้คำย่อว่า
ISO องค์กรที่จัดทำมาตรฐานระหว่างมาตรฐานระหว่างประเทศ
ตั้งอยู่ที่เจนีวา
ได้ประกาศมาตรฐานสำหรับการติดต่อสื่อสารและการแลกเปลี่ยนข้อมูล โมเดล 7-layer International
Organization for Standardization/ Open Systems Interconnection (ISO/OSI) สำหรับการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบเปิดก็เป็นคำแนะนำจาก ISO
ที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลกด้วย ข้อมูลเพิ่มเติมดูที่
http://www.iso.org
Internet
Explorer อินเทอร์เน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์
เป็นเบราเซอร์ของไมโครซอฟท์ที่ใช้งานตั้งแต่บนวินโดวส์ 95
โดยไมโครซอฟท์ได้ออกแบบอินเทอร์เน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์ให้ทำงานสัมพันธ์กับวินโดวส์
เช่น ผู้ใช้สามารถใช้เป็นโปรแกรมเพื่อเปิดเอกสารที่แสดงในเบราเซอร์ได้
ซึ่งไฟล์ที่เปิดต้องมีนามสกุล .htm,
.html, .xml เป็นต้น
Interrupt อินเตอร์รัปต์
ตัวขัดจังหวะ
คำสั่งที่เข้ามาเกี่ยวข้องอย่างรุนแรง จนทำให้คอมพิวเตอร์หยุดทำงานอยู่
และทำอะไรบางอย่างที่แตกต่างจากเดิมโดยสิ้นเชิง เช่น เมื่อคุณกดปุ่มผสม Ctrl-Alt-Del จะทำให้เกิดอินเตอร์รัปต์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์เริ่มทำงานใหม่ ตัวขัดจังหวะซีพียูจากฮาร์ดแวร์
บนเครื่องดอสมักใช้สัญญาณ Interrupt
Requests (IRQ)
Intranet อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายเฉพาะส่วนขององค์กรหรือหน่วยงานที่นำซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์แบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้
อินทราเน็ตจึงเป็นเครือข่ายเพื่อระบบงานภายใน
โดยมุ่งเน้นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อบริการแก่บุคคล
IP ย่อมาจาก
Internet Protocol โปรโตคอลสื่อสารที่ใช้บนอินเทอร์เน็ต IP
ให้แพ็กเก็ตข้อมูลเดินทางข้ามเครือข่ายหลายเครือข่ายก่อนที่จะมาถึงปลายทาง
iPad ไอแพด
แท็ปเล็ตคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบและพัฒนาโดยบริษัทแอปเปิล
เป็นอุปกรณ์ที่รองรับความสามารถทางด้านมัลติมีเดียทั้งการชมภาพยนต์ เพลง เกม อีบุ๊ค
และท่องเว็ปไซต์ มีขนาดและน้ำหนักเบากว่าแล็ปทอป
iPhone โทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่ได้รับความนิยม
เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัทแอปเปิลโดยรองรับการใช้งานโทรศัพท์ ดูหนัง ฟังเพลง
มีกล้องถ่ายภาพ ส่งข้อความ อีเมล ใช้งานอินเทอร์เน็ต
พร้อมแอปพลิเคชั่นให้ดาวน์โหลดมาใช้งานที่มีทั้งฟรีและเสียค่าใช้จ่าย
สามารถดาวน์โหลดได้จาก AppStore
iPod เครื่องเล่นไฟล์เพลงแบบพกพาจากแอปเปิลใช้ฮาร์ดดิสก์ในการจัดเก็บข้อมูล
IPv6 IP เวอร์ชั่นที่ 6 เป็นรูปแบบ IP
ที่จะใช้กับอินเทอร์เน็ตระบบใหม่ โดยกำหนดแอดเดรสของ IP
ไว้ถึง 128 บิต
IPX ย่อมาจาก
Internetwork Packet Exchange
โปรโตคอลบน LAN ของโนเวลล์เน็ตแวร์ที่ใช้หาเส้นทางส่งข้อความจากโหนดหนึ่งไปยังอีกโหนดหนึ่งในเครือข่าย
IRQ ย่อมาจาก
Interrupt Request คำขอขัดจังหวะที่ส่งไปยังไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อให้โปรแกรมหยุดทำงานชั่วคราว
แล้วให้โปรแกรมอื่นทำงานแทน บนคอมพิวเตอร์มี IRQ อยู่จำนวนหนึ่งที่กำหนดลำดับเอาไว้แล้ว โดย IRQ เหล่านี้ได้กำหนดให้ขัดจังหวะแล้วเข้าไปใช้อุปกรณ์จำพวกฮาร์ดแวร์ที่เป็นทางเลือกอย่างรวดเร็ว
ดังนั้น หลังจากการเพิ่มอุปกรณ์ เช่น อะแดปเตอร์เครือข่าย แผ่นวงจรเสียง และเมาส์
คอมพิวเตอร์ของคุณจะทำงานับอุปกรณ์เหล่านี้ตามลำดับ IRQ
IRTF ย่อมาจาก
Internet Research Task Force หน่วยงานที่ทำหน้าที่พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ในระยะยาวที่จะส่งผลต่ออินเทอร์เน็ตในอนาคต
งานของ IRTF จึงเกี่ยวข้องกับเทคนิคด้านเครือข่ายมากกว่า
ในขณะที่ IETF จะเกี่ยวข้องกับโปรโตคอลมาตรฐาน
ISA ย่อมาจาก
Industry Standard Architecture
มาตรฐานของช่องส่งข้อมูลซึ่งแต่เดิมมีใช้ใน IBM
AT เป็นบัสขนาด
16 บิต ที่ไอบีเอ็มพัฒนาขึ้นมาในปี 1984
มีความเร็ว 8 เมกะเฮิรตซ์ และให้ผลลัพธ์
8 เมกะบิตต่อวินาที ISA ได้พัฒนาเป็น
EISA (Extended Industry
Standard Architecture) เพื่อขยายช่องทางเป็น 32 บิต
ISAM ย่อมาจาก
Indexed Sequential Access Method
เทคนิคการจัดเก็บและดึงข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้ตารางและดัชนี
ISDN ย่อมาจาก
Integrated Service Digital Network ข้อกำหนดมาตรฐานการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศในแบบดิจิตอลโดยใช้สายโทรศัพท์ที่ส่งข้อมูล
ภาพ เสียง วีดีโอในสายเส้นเดียวกัน
ISO เป็นชื่อย่อของ International Organization for
Standardization องค์กรนานาชาติทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มคนที่พยายามกำหนดมาตรฐานอุตสาหกรรมหลายๆประเภท ISO
ตั้งข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับปาสคาลมักเรียกว่า ISO Pascal แต่ปาสคาลรุ่นที่นิยมใช้กันคือ เทอร์โบปาสคาล
ซึ่งไม่ค่อยเป็นไปตามมาตรฐาน ISO
ISO/OSI
model ย่อมาจาก International Organization for
Standardization/Open Systems Interconnection, ในเรื่องการจัดการโครงข่ายจะอ้างอิงด้วยรูปแบบที่ ISO
กำหนดขึ้นมา เพื่อแบ่งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ออกเป็น 7
เลเยอร์ที่วางซ้อนกัน จึงเรียกกันว่า โปรโตคอลเรียงทับซ้อน (protocol
stack) เลเยอร์ติดกันในระดับที่สูงกว่าสร้างอยู่บนฟังก์ชั่นจากเลเยอร์ที่ต่ำกว่า
ดังนี้
Layer 7: Application
Layer ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ใช้ผ่านโปรแกรมระบบงานสำหรับเครือข่าย
เช่น FTP, HTTP, SMTP หรือ SNMP
Layer 6: Presentation Layer ทำหน้าที่กำหนดรูปแบบการแสดงผลของข้อมูลสำหรับ
Application Layer รวมไปถึงการแปลงข้อมูลและการเข้ารหัสอีกด้วย
Layer 5: Session Layer ทำหน้าที่เปิด
(รวมไปถึงการจัดการและการปิด) การสื่อสาร (Communication) ระหว่างกันภายในเครือข่าย
Layer 4: Transport Layer ทำหน้าที่จัดการให้ข้อมูลที่รับ-ส่งระหว่างกัน
มีความน่าเชื่อถือ (Reliable) คือ
ข้อมูลที่ส่งมาจากต้นทางจนถึงปลายทางต้องตรงกัน
Layer 3: Network Layer ทำหน้าที่ในการกำหนดเส้นทางรับ-ส่งข้อมูล
ระหว่างคอมพิวเตอร์ โดยจะเลือกเส้นทางสั้นที่สุดในการรับ-ส่งข้อมูล (ในระบบเครือข่ายจะมีเส้นทางให้เลือกมากมาย)
Layer 2: Data-Link Layer ทำหน้าที่ในการจัดข้อมูลเป็นกลุ่ม
เรียกว่า แพ็กเก็ต (packet) และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่รับ-ส่ง
ระหว่างโหนด (คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่นที่เกาะอยู่กับเครือข่าย) ด้วย
Layer 1: Physical Layer เป็นเลเยอร์ของการสื่อสาร
ทำหน้าที่รับ-ส่ง ข้อมูลผ่านสื่อระหว่างคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่าย (เช่น สายทองแดง หรือ ใยแก้วนำแสง)
ด้วยความเคารพ
ว่าที่ร้อยเอกอรุณวัชร์ กร่ำธาดา
วิศวกรอรุณวัชร์ กร่ำธาดา
ความรู้คำศัพท์สารเทศที่ควรรู้และน่าสนใจ Part I
ขอแนะนำคำศัพท์สารสนเทศที่ควรรู้และน่าสนใจครับ
IEEE ย่อมาจาก
Institute of Electrical and Electronics Engineers, องค์กรที่ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
IEEE
802 standards องค์กรที่จัดตั้งขึ้นมาในปี
1963 มีสมาชิกประกอบด้วย วิศวกร นักศึกษา
และนักวิทยาศาสตร์ IEEE ยังทำงานเป็นผู้ประสานงานสำหรับมาตรฐานในเรื่องการประมวลผลและการสื่อสารโดยเฉพาะ
มาตรฐาน IEEE 802 ที่กำหนดมาตรฐาน LAN
ใน physical และ data
link layer ตามด้วย ISO/OSI model
◾IEEE 802.1D
มาตรฐานควบคุมการเข้าใช้สำหรับการเชื่อมกับบริดจ์ในเครือข่าย 802.3
802.4 และ 802.5
◾IEEE 802.2
มาตรฐานที่กำหนด data-link
layer ซึ่งใช้กับเครือข่าย
802.3 802.4 และ
802.5
◾IEEE 802.3 10Base5 มาตรฐานที่ตรงกันกับผลิตภัณฑ์ Start Lan ของ AT&T ซึ่งมีอัตราการโอนย้ายข้อมูล
1 เมกะบิตต่อวินาที และความยาวสายแต่ละช่วงไม่เกิน 500 เมตร
◾IEEE 802.3 10Base2 การติดตั้งมาตรฐานอีเทอร์เน็ตให้ใช้งานได้บนสาย thin
ethernet ซึ่งมีอัตราการโอนย้ายข้อมูล
10 เมกะบิตต่อวินาที และความยาวสายแต่ละช่วงยาวได้ไม่เกิน 185 เมตร หรือ
600 ฟุต
◾IEEE 802.3 10Base-T มาตรฐานสำหรับอีเทอร์เน็ตบนสาย unshielded twisted pair (UTP) ซึ่งเป็นสายและมีตัวเชื่อมแบบ RJ 45 ที่ใช้กันในระบบสายโทรศัพท์อันทันสมัย
มาตรฐานนี้ใช้โทโพโลยีแบบดาว (star topology)
โดยที่แต่ละโหนดจะต่อเข้าไปยังศูนย์กลางการเชื่อมสาย และมีความยาวจำกัดไม่เกิน 100
เมตร หรือ 325 ฟุต
◾IEEE 802.3 10Broad36
กำหนดอีเทอร์เน็ตระยะไกลที่มีอัตราการส่งข้อมูลได้ 10 เมกะบิตต่อวินาที
และแต่ละช่วงของสายมีความยาวได้ไม่เกิน 3,600 เมตร
◾IEEE 802.4 กำหนดเครือข่ายที่ใช้โทโพโลยีแบบบัสที่ใช้ในการส่งผ่านโทเค็น
(token passing)
เพื่อควบคุมการเข้าใช้และการส่งข้อมูลภายในเครือข่ายโดยมีอัตราเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาที
◾IEEE 802.5 กำหนดเครือข่ายแบบวงแหวน (ring)
ที่ใช้การส่งผ่านโทเค็นเพื่อควบคุมการเข้าใช้และการส่งข้อมูลภายในเครือข่าย
โดยมีอัตราเร็ว 4 หรือ 16 เมกะบิตต่อวินาที ใช้กับเครือข่ายโทเค็นริงของไอบีเอ็ม
◾IEEE 802.6 กำหนดมาตรฐานสำหรับ Metropolitan Area Networks (MANs) ซึ่งส่งเสียง
ภาพวีดีโอ และข้อมูลผ่านทางสายใยแก้วนำแสง 2 เส้น ขนานกัน โดยใช้อัตราการส่ง 155
เมกะบิตต่อวินาที
◾IEEE 802.7 กำหนดมาตรฐานสำหรับ broadband local area networks ปัจจุบันมาตรฐานนี้ไม่ได้รับความสนใจแล้ว
◾IEEE 802.8 กำหนดมาตรฐานสำหรับเทคนิคใยแก้วนำแสง
◾IEEE 802.9 กลุ่มทำงานที่กำหนดมาตรฐานสำหรับผนวกรวมข้อมูลและเสียงเข้าด้วยกัน
โดยให้สามารถส่งผ่านระบบเครือข่ายแบบ twisted
pair cable
◾IEEE 802.10
มาตรฐานเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยในเครือข่ายที่พัฒนาข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับแบบจำลองระบบความปลอดภัยในเครือข่าย (ปัจจุบันมาตรฐานนี้ถูกยกเลิกไปแล้ว)
◾IEEE 802.11 เป็นกลุ่มมาตรฐานทางด้านเทคนิคของการสื่อสารแบบ half
duplex ผ่านระบบ modulation แบบไร้สาย ที่ใช้กันมากๆ ได้แก่ 802.11b และ
802.11g
IETF ย่อมาจาก
Internet Engineering Task Force
หน่วยงานซึ่งทำหน้าที่พัฒนามาตรฐานตามเทคโนโลยีเพื่อใช้ในอินเทอร์เน็ต กลุ่มของ IETF จะร่วมกันวางโครงการ
ร่างข้อเสนอที่จะกำหนดเป็นมาตรฐาน เพื่อส่งให้
IAB พิจารณาอนุมัติอีกขั้นหนึ่ง
IIS ย่อมาจาก
Internet Information Server
ซอฟต์แวร์ Microsoft’s
Web server ใช้เพื่อจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทำหน้าที่เป็นเว็ปเซิร์ฟเวอร์ได้เพื่อให้คุณได้ทดสอบการทำงานของโปรแกรมก่อนจะนำโค้ดไปใช้งานจริง
หรือในบางองค์กรอาจใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปทำหน้าที่เป็นเว็ปเซิร์ฟเวอร์ในระบบเครือข่ายอินทราเน็ตเพื่อให้พนักงานได้เข้าไปเปิดใช้งาน
iMac เครื่องคอมพิวเตอร์แอปเปิลในระบบ all-in-one โดยจะนำเอาจอภาพและเคสรวมไว้บนหน้าจอ
ซึ่งจะทำให้ประหยัดพื้นที่การใช้งาน
inkjet
printer เครื่องพิมพ์แบบหนึ่งที่สร้างภาพด้วยการพ่นละอองหมึกไปบนกระดาษแทนการกระแทกผ้าหมึกเข้ากับกระดาษตามที่เครื่องพิมพ์แบบดอทแมทริกซ์ทำ เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ตมีทั้งแบบขาวดำและสี
Integrated
Circuit ใช้คำย่อว่า
IC วงจรรวม
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็ก ที่มีส่วนประกอบเป็นสารกึ่งตัวนำขนาดเล็กจิ๋วจำนวนมากมาย
Integrated
software ซอฟต์แวร์ที่รวมเอาหลายๆ
แอปพลิเคชั่นเอาไว้ในโปรแกรมเดียว
Integrity คุณสมบัติของข้อมูลซึ่งสามารถที่จะนำกลับคืนมาได้
ในกรณีที่ข้อมูลนี้สูญหายไปอันเนื่องมาจากความล้มเหลวของสื่อเก็บข้อมูล หรือการทำงานที่ผิดปกติของโปรแกรม
Intel บริษัทที่ผลิตไมโครโปรเซสเซอร์อินเทลที่มีอยู่ในเครื่องพีซีและโน้ตบุ๊ค
ก่อตั้งขึ้นในปี 1968 ได้พัฒนาโปรเซลเซอร์และผลิตภัณฑ์ต่างๆ เกี่ยวกับแผงวงจร
มากมาย ข้อมูลเพิ่มเติมดูที่ http://www.intel.com
Interactive อินเตอร์แอกทีฟ, โปรแกรมแบบตอบรับทันที
โปรแกรมหรือคอมพิวเตอร์ที่ตอบรับออกมาทันทีเมื่อผู้ใช้กดปุ่ม หรือทำอะไรบางอย่าง
International
Organization for Standardization ใช้คำย่อว่า
ISO องค์กรที่จัดทำมาตรฐานระหว่างมาตรฐานระหว่างประเทศ
ตั้งอยู่ที่เจนีวา
ได้ประกาศมาตรฐานสำหรับการติดต่อสื่อสารและการแลกเปลี่ยนข้อมูล โมเดล 7-layer International
Organization for Standardization/ Open Systems Interconnection (ISO/OSI) สำหรับการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ที่เป็นระบบเปิดก็เป็นคำแนะนำจาก ISO
ที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลกด้วย ข้อมูลเพิ่มเติมดูที่ http://www.iso.org
Internet
Explorer อินเทอร์เน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์
เป็นเบราเซอร์ของไมโครซอฟท์ที่ใช้งานตั้งแต่บนวินโดวส์ 95
โดยไมโครซอฟท์ได้ออกแบบอินเทอร์เน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์ให้ทำงานสัมพันธ์กับวินโดวส์
เช่น ผู้ใช้สามารถใช้เป็นโปรแกรมเพื่อเปิดเอกสารที่แสดงในเบราเซอร์ได้
ซึ่งไฟล์ที่เปิดต้องมีนามสกุล .htm,
.html, .xml เป็นต้น
Interrupt อินเตอร์รัปต์
ตัวขัดจังหวะ
คำสั่งที่เข้ามาเกี่ยวข้องอย่างรุนแรง จนทำให้คอมพิวเตอร์หยุดทำงานอยู่
และทำอะไรบางอย่างที่แตกต่างจากเดิมโดยสิ้นเชิง เช่น เมื่อคุณกดปุ่มผสม Ctrl-Alt-Del จะทำให้เกิดอินเตอร์รัปต์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์เริ่มทำงานใหม่ ตัวขัดจังหวะซีพียูจากฮาร์ดแวร์
บนเครื่องดอสมักใช้สัญญาณ Interrupt
Requests (IRQ)
Intranet อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายเฉพาะส่วนขององค์กรหรือหน่วยงานที่นำซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์แบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้
อินทราเน็ตจึงเป็นเครือข่ายเพื่อระบบงานภายใน
โดยมุ่งเน้นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อบริการแก่บุคคล
IP ย่อมาจาก
Internet Protocol โปรโตคอลสื่อสารที่ใช้บนอินเทอร์เน็ต IP
ให้แพ็กเก็ตข้อมูลเดินทางข้ามเครือข่ายหลายเครือข่ายก่อนที่จะมาถึงปลายทาง
iPad ไอแพด
แท็ปเล็ตคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบและพัฒนาโดยบริษัทแอปเปิล
เป็นอุปกรณ์ที่รองรับความสามารถทางด้านมัลติมีเดียทั้งการชมภาพยนต์ เพลง เกม อีบุ๊ค
และท่องเว็ปไซต์ มีขนาดและน้ำหนักเบากว่าแล็ปทอป
iPhone โทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่ได้รับความนิยม
เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัทแอปเปิลโดยรองรับการใช้งานโทรศัพท์ ดูหนัง ฟังเพลง
มีกล้องถ่ายภาพ ส่งข้อความ อีเมล ใช้งานอินเทอร์เน็ต
พร้อมแอปพลิเคชั่นให้ดาวน์โหลดมาใช้งานที่มีทั้งฟรีและเสียค่าใช้จ่าย
สามารถดาวน์โหลดได้จาก AppStore
iPod เครื่องเล่นไฟล์เพลงแบบพกพาจากแอปเปิลใช้ฮาร์ดดิสก์ในการจัดเก็บข้อมูล
IPv6 IP เวอร์ชั่นที่ 6 เป็นรูปแบบ IP
ที่จะใช้กับอินเทอร์เน็ตระบบใหม่ โดยกำหนดแอดเดรสของ IP
ไว้ถึง 128 บิต
IPX ย่อมาจาก
Internetwork Packet Exchange
โปรโตคอลบน LAN ของโนเวลล์เน็ตแวร์ที่ใช้หาเส้นทางส่งข้อความจากโหนดหนึ่งไปยังอีกโหนดหนึ่งในเครือข่าย
IRQ ย่อมาจาก
Interrupt Request คำขอขัดจังหวะที่ส่งไปยังไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อให้โปรแกรมหยุดทำงานชั่วคราว
แล้วให้โปรแกรมอื่นทำงานแทน บนคอมพิวเตอร์มี IRQ อยู่จำนวนหนึ่งที่กำหนดลำดับเอาไว้แล้ว โดย IRQ เหล่านี้ได้กำหนดให้ขัดจังหวะแล้วเข้าไปใช้อุปกรณ์จำพวกฮาร์ดแวร์ที่เป็นทางเลือกอย่างรวดเร็ว
ดังนั้น หลังจากการเพิ่มอุปกรณ์ เช่น อะแดปเตอร์เครือข่าย แผ่นวงจรเสียง และเมาส์
คอมพิวเตอร์ของคุณจะทำงานับอุปกรณ์เหล่านี้ตามลำดับ IRQ
IRTF ย่อมาจาก
Internet Research Task Force หน่วยงานที่ทำหน้าที่พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ในระยะยาวที่จะส่งผลต่ออินเทอร์เน็ตในอนาคต
งานของ IRTF จึงเกี่ยวข้องกับเทคนิคด้านเครือข่ายมากกว่า
ในขณะที่ IETF จะเกี่ยวข้องกับโปรโตคอลมาตรฐาน
ISA ย่อมาจาก
Industry Standard Architecture
มาตรฐานของช่องส่งข้อมูลซึ่งแต่เดิมมีใช้ใน IBM
AT เป็นบัสขนาด
16 บิต ที่ไอบีเอ็มพัฒนาขึ้นมาในปี 1984
มีความเร็ว 8 เมกะเฮิรตซ์ และให้ผลลัพธ์
8 เมกะบิตต่อวินาที ISA ได้พัฒนาเป็น
EISA (Extended Industry
Standard Architecture) เพื่อขยายช่องทางเป็น 32 บิต
ISAM ย่อมาจาก
Indexed Sequential Access Method
เทคนิคการจัดเก็บและดึงข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้ตารางและดัชนี
ISDN ย่อมาจาก
Integrated Service Digital Network ข้อกำหนดมาตรฐานการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศในแบบดิจิตอลโดยใช้สายโทรศัพท์ที่ส่งข้อมูล
ภาพ เสียง วีดีโอในสายเส้นเดียวกัน
ISO เป็นชื่อย่อของ International Organization for
Standardization องค์กรนานาชาติทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มคนที่พยายามกำหนดมาตรฐานอุตสาหกรรมหลายๆประเภท ISO
ตั้งข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับปาสคาลมักเรียกว่า ISO Pascal แต่ปาสคาลรุ่นที่นิยมใช้กันคือ เทอร์โบปาสคาล
ซึ่งไม่ค่อยเป็นไปตามมาตรฐาน ISO
ISO/OSI
model ย่อมาจาก International Organization for
Standardization/Open Systems Interconnection, ในเรื่องการจัดการโครงข่ายจะอ้างอิงด้วยรูปแบบที่ ISO
กำหนดขึ้นมา เพื่อแบ่งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ออกเป็น 7
เลเยอร์ที่วางซ้อนกัน จึงเรียกกันว่า โปรโตคอลเรียงทับซ้อน (protocol
stack) เลเยอร์ติดกันในระดับที่สูงกว่าสร้างอยู่บนฟังก์ชั่นจากเลเยอร์ที่ต่ำกว่า
ดังนี้
Layer 7: Application
Layer ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ใช้ผ่านโปรแกรมระบบงานสำหรับเครือข่าย
เช่น FTP, HTTP, SMTP หรือ SNMP
Layer 6: Presentation Layer ทำหน้าที่กำหนดรูปแบบการแสดงผลของข้อมูลสำหรับ
Application Layer รวมไปถึงการแปลงข้อมูลและการเข้ารหัสอีกด้วย
Layer 5: Session Layer ทำหน้าที่เปิด
(รวมไปถึงการจัดการและการปิด) การสื่อสาร (Communication) ระหว่างกันภายในเครือข่าย
Layer 4: Transport Layer ทำหน้าที่จัดการให้ข้อมูลที่รับ-ส่งระหว่างกัน
มีความน่าเชื่อถือ (Reliable) คือ
ข้อมูลที่ส่งมาจากต้นทางจนถึงปลายทางต้องตรงกัน
Layer 3: Network Layer ทำหน้าที่ในการกำหนดเส้นทางรับ-ส่งข้อมูล
ระหว่างคอมพิวเตอร์ โดยจะเลือกเส้นทางสั้นที่สุดในการรับ-ส่งข้อมูล (ในระบบเครือข่ายจะมีเส้นทางให้เลือกมากมาย)
Layer 2: Data-Link Layer ทำหน้าที่ในการจัดข้อมูลเป็นกลุ่ม
เรียกว่า แพ็กเก็ต (packet) และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่รับ-ส่ง
ระหว่างโหนด (คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่นที่เกาะอยู่กับเครือข่าย) ด้วย
Layer 1: Physical Layer เป็นเลเยอร์ของการสื่อสาร
ทำหน้าที่รับ-ส่ง ข้อมูลผ่านสื่อระหว่างคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่าย (เช่น สายทองแดง หรือ ใยแก้วนำแสง)
ด้วยความเคารพ
ว่าที่ร้อยเอกอรุณวัชร์ กร่ำธาดา
วิศวกรอรุณวัชร์ กร่ำธาดา