คนเรามีวิธีรับมือกับความผิดหวังหลายแบบ
1. บางคนเงียบไปสงบจิตใจ
2. บางคนยอมรับความจริงและเผชิญหน้ากับมัน
3. บางคนแต่งเรื่องมาปลอบใจตัวเอง
4. บางคนระบายออกมาเป็นความโกรธ
สิ่งเหล่านี้เป้นกลไกการทำงานของสมอง ซึ่งเป็นธรรมชาติของมนุษย์
ขึ้นอยู่กับสภาพจิตใจ และนิสัยพื้นฐานของคนๆนั้น ว่าจะสะดวกกับแบบไหน
วันนี้ผมมีตัวอย่าง มาให้ดู ไว้เป็นกรณีศึกษา
##################
ก่อนการเลือกตั้ง
ก่อนเลือกตั้ง คิดว่าคนเลือกไม่เยอะหรอก ที่เห็นในเน็ตนั่น IO ทั้งนั้น
#########
หลังเลือกตั้ง
1. อเมริกาแซกแทรง จนชนะ
2. ถ้าคนได้เห็นฝีมือแล้ว เดี๋ยวก็อวสาน (แต่เอ๊ะ หมายถึงพรรคไหนกันแน่)
3. ถ้าได้เป็นประธานสภา จะแย่แน่นอน
4. ต้องมีสักวันๆ
เอาเป็นว่า เดี๋ยวแย่แน่ๆ (ต้องสร้างความหวัง)
##########
แถม
น่าจะยังหงุดหงิด และคงเป็นไปอีกนาน
##########
สรุป
เมื่อโลกความจริง ไม่เหมือนกับที่คิดไว้ แต่ละคนก็เยียวยาติตใจตัวเองต่างกัน ในทางที่ดี และแย่ สำหรับกรณีนี้คือ แต่งเรื่องมาปลอบใจตัวเอง
เขาเรียกว่า 5 stages of grief
1. Denial = ปฎิเสธความจริง
- กรณีนี้คือ แต่งเรื่องมาปลอบใจตัวเอง
2. Anger = ระบายออกมาเป็นความโกรธ
- ไล่เหน็บแนม และด่าทอเพื่อระบาย
โยงแม้กระทั่งเครื่องบินรบ ทั้งๆที่ทุกฝ่ายให้ความเห็นตรงกันว่า เพราะสาเหตุอื่น
3. Bargaining = เริ่มต่อรองกับความจริง
- เริ่มยอมรับพรรคเพื่อไทย ทั้งๆที่ไม่เคยชอบเลย และหวังว่าเพื่อไทย จะได้เป็นรัฐบาล (เพราะหวังกับคุณลุงไม่ได้)
4. Depression = เศร้า
- อาการนี้อาจไม่เห็นบนอินเตอร์เน็ต แต่ในใจอาจจะกำลังเป็นอยู่ก็ได้
5. Acceptance = ยอมรับความจริง
- คงไม่เกิดง่ายๆ จะยังติดกับ 4 ข้อข้างบนไปอีกนาน
เพราะเขาเอาตัวเองไปผูกกับขั้วอำนาจหนึ่ง และอยู่ๆสลายไปเป็นจำนวนมาก ทำให้เขารู้สึกไม่มั่นคง มันทำใจยาก
ต่อให้ก้าวไกลไม่ได้จัดตั้งรัฐบาลรอบนี้ ความผิดหวังพี่เขาก็จะยังไม่หายไป เพราะมันไม่ใช่แค่เรื่องผลเลือกตั้ง
แต่เรื่องที่สำคัญกว่าคือ คะแนนของก้าวไกล ที่ได้ถึง 14 ล้าน ส่วนพรรคที่เขาเชียร์ ได้ 4 ล้านกว่า และไม่มีทางกลับมา
ถ้านับเป็นขั้ว ก็ยิ่งแล้วใหญ่ คือ 24 ต่อ 6 โดยประมาณ
กระทู้นี้ ไว้เป็นกรณีศึกษาครับ ใครมีความเห็นยังไง แชร์กันได้ครับ
การรับมือกับความผิดหวัง (เลือกตั้ง)
1. บางคนเงียบไปสงบจิตใจ
2. บางคนยอมรับความจริงและเผชิญหน้ากับมัน
3. บางคนแต่งเรื่องมาปลอบใจตัวเอง
4. บางคนระบายออกมาเป็นความโกรธ
สิ่งเหล่านี้เป้นกลไกการทำงานของสมอง ซึ่งเป็นธรรมชาติของมนุษย์
ขึ้นอยู่กับสภาพจิตใจ และนิสัยพื้นฐานของคนๆนั้น ว่าจะสะดวกกับแบบไหน
วันนี้ผมมีตัวอย่าง มาให้ดู ไว้เป็นกรณีศึกษา
##################
ก่อนการเลือกตั้ง
ก่อนเลือกตั้ง คิดว่าคนเลือกไม่เยอะหรอก ที่เห็นในเน็ตนั่น IO ทั้งนั้น
#########
หลังเลือกตั้ง
1. อเมริกาแซกแทรง จนชนะ
2. ถ้าคนได้เห็นฝีมือแล้ว เดี๋ยวก็อวสาน (แต่เอ๊ะ หมายถึงพรรคไหนกันแน่)
3. ถ้าได้เป็นประธานสภา จะแย่แน่นอน
4. ต้องมีสักวันๆ
เอาเป็นว่า เดี๋ยวแย่แน่ๆ (ต้องสร้างความหวัง)
##########
แถม
น่าจะยังหงุดหงิด และคงเป็นไปอีกนาน
##########
สรุป
เมื่อโลกความจริง ไม่เหมือนกับที่คิดไว้ แต่ละคนก็เยียวยาติตใจตัวเองต่างกัน ในทางที่ดี และแย่ สำหรับกรณีนี้คือ แต่งเรื่องมาปลอบใจตัวเอง
เขาเรียกว่า 5 stages of grief
1. Denial = ปฎิเสธความจริง
- กรณีนี้คือ แต่งเรื่องมาปลอบใจตัวเอง
2. Anger = ระบายออกมาเป็นความโกรธ
- ไล่เหน็บแนม และด่าทอเพื่อระบาย
โยงแม้กระทั่งเครื่องบินรบ ทั้งๆที่ทุกฝ่ายให้ความเห็นตรงกันว่า เพราะสาเหตุอื่น
3. Bargaining = เริ่มต่อรองกับความจริง
- เริ่มยอมรับพรรคเพื่อไทย ทั้งๆที่ไม่เคยชอบเลย และหวังว่าเพื่อไทย จะได้เป็นรัฐบาล (เพราะหวังกับคุณลุงไม่ได้)
4. Depression = เศร้า
- อาการนี้อาจไม่เห็นบนอินเตอร์เน็ต แต่ในใจอาจจะกำลังเป็นอยู่ก็ได้
5. Acceptance = ยอมรับความจริง
- คงไม่เกิดง่ายๆ จะยังติดกับ 4 ข้อข้างบนไปอีกนาน
เพราะเขาเอาตัวเองไปผูกกับขั้วอำนาจหนึ่ง และอยู่ๆสลายไปเป็นจำนวนมาก ทำให้เขารู้สึกไม่มั่นคง มันทำใจยาก
ต่อให้ก้าวไกลไม่ได้จัดตั้งรัฐบาลรอบนี้ ความผิดหวังพี่เขาก็จะยังไม่หายไป เพราะมันไม่ใช่แค่เรื่องผลเลือกตั้ง
แต่เรื่องที่สำคัญกว่าคือ คะแนนของก้าวไกล ที่ได้ถึง 14 ล้าน ส่วนพรรคที่เขาเชียร์ ได้ 4 ล้านกว่า และไม่มีทางกลับมา
ถ้านับเป็นขั้ว ก็ยิ่งแล้วใหญ่ คือ 24 ต่อ 6 โดยประมาณ
กระทู้นี้ ไว้เป็นกรณีศึกษาครับ ใครมีความเห็นยังไง แชร์กันได้ครับ